Array ( [0] => Array ( [article_id] => 47723 [category_id] => 3139 [title] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%8A.jpg" width="1110" height="476" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ <span>เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote> </div> [image] => o_1ehc09dti11nu19v41isrvbr2mmb.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-04 14:28:59 [comment_status] => 0 [viewed] => 8236 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [1] => Array ( [article_id] => 47729 [category_id] => 3139 [title] => การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน</span><br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/8)%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ <span>เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote> </div> [image] => o_1c39p93pec5q1mrp11ms1hc91t67b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-04 14:40:48 [comment_status] => 0 [viewed] => 7607 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [2] => Array ( [article_id] => 47722 [category_id] => 3139 [title] => ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/1)%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ <span>เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote> </div> [image] => o_1c39p5kqg1s7mfpnj0a1p10fd1b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-04 14:42:14 [comment_status] => 0 [viewed] => 14750 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [3] => Array ( [article_id] => 47726 [category_id] => 3139 [title] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (1) [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (1) [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (ตอนที่ 1)<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/5)%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อพูดถึงการวิเคราะห์คนทั่วไปอาจนึกถึงตัวเลข ค่าสถิติต่าง ๆ หรืออาจเป็นส่วนผสมทางเคมี ดูแล้วน่าจะเป็นเรื่องไกลตัวและน่าปวดหัว ในชีวิตของเราถ้าไม่ได้มีอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความคิดเพื่อวิเคราะห์ เราคงไม่ต้องมาเจอเรื่องดังกล่าวหรอก ซึ่งไม่ผิดนัก แต่คงไม่ถูกต้องและครอบคลุมทั้งหมด เนื่องจากทุกคนเคยผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว อาจวิเคราะห์มากบ้างน้อยบ้าง ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม คุณเชื่อหรือไม่?</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ถ้าคุณชอบซื้อหวยใต้ดินมาก ผมเชื่อว่าคุณต้องมีแนวทางในการซื้อตัวเลข (55555 แต่ผิดกฎหมายนะครับ) ถ้าคุณต้องเดินทางไปเชียงใหม่ด้วยเงินที่จำกัด คุณต้องวางแผนก่อนการเดินทางว่าจะโดยสารพาหนะอะไรบ้าง พร้อมทั้งคำนวณรายจ่ายด้านอื่น ๆ ด้วย หรือถ้าคุณต้องเลือกคู่ครอง คุณคงไม่ใช้วิธีจับสลากแน่นอน เห็นด้วยหรือไม่ครับ คุณต้องใช้ความคิดพิจารณาปัจจัยหลาย ๆ ด้านประกอบกัน ทั้งหมดที่กล่าวมาเรียกว่าการใช้ “<span>การคิดเชิงวิเคราะห์</span>” <span>ดังนั้นการคิดเชิงวิเคราะห์มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ตามสถานการณ์ที่ตนองประสบอยู่ ซึ่งในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการจำเป็นต้องเลือก </span>“<span>เครื่องมือ</span>” (Tools) <span>ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง แต่ก่อนที่จะกล่าวถึงเครื่องมือช่วยวิเคราะห์ เรามาดูกันก่อนว่าสมองทำหน้าที่อย่างไรที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์</span></span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการจำเป็นต้องเลือกเครื่องมือ (Tools) <span>ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง</span>”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หน้าที่ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์</span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) สมองทำหน้าที่ตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ</strong> โดยธรรมชาติแล้วเมื่อมีข้อมูลเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 <span>สมองจะทำการตีความข้อมูลที่ได้รับโดยนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูล ความทรงจำ หรือประสบการณ์ในอดีตที่เก็บสะสมไว้ จากนั้นสมองจะแยกแยะความเหมือนและความต่างของข้อมูลที่ได้รับ พร้อมทั้งพยายามเชื่อมโยงเหตุผลของเรื่องราวต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น</span><br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) สมองทำหน้าที่หาเหตุผลเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อสืบค้นความจริง</strong> โดยธรรมชาติแล้วความคิดวิเคราะห์จะปรากฏขึ้นเมื่อพบสิ่งที่มีความคลุมเครือหรือสิ่งผิดปกติ สร้างความสงสัย จนไปถึงการตั้งคำถามเพื่อค้นหาสาเหตุของความผิดปกตินั้น ๆ สมองจะทำหน้าที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างสิ่งที่ปรากฏกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ นำไปสู่การประเมินและตัดสินใจแก้ปัญหาต่าง ๆ<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) สมองทำหน้าที่ประเมินคุณค่าสิ่งต่าง ๆ เพื่อการตัดสินใจ </strong>โดยธรรมชาติแล้วสมองคิดวิเคราะห์อย่างอัตโนมัติเมื่อต้องตัดสินใจเลือกอะไรบางอย่าง ซึ่งโดยพื้นฐานก่อนการตัดสินใจ ทุกคนมักจะกำหนดกฎเกณฑ์หรือมาตรฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นอยู่ก่อนแล้ว เพื่อใช้เป็นฐานในการประเมินและตัดสินใจ เหตุผลที่อยู่เบื้องหลังคือ “<span>การประเมินคุณค่าที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจเลือกหรือตัดสินใจไม่เลือกนั่นเอง</span>”<span> แต่สิ่งที่ต้องระมัดระวังในการประเมินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ คือการมีอคติ </span>(Bias) <span>ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของตนเอง</span></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) </strong><strong>สมองทำหน้าที่แจกแจงองค์ประกอบเพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมดของเรื่องราว</strong> ตัวอย่างที่เห็นเด่นชัดที่สุดของหน้าที่นี้คือ การสืบสวนของยอดนักสืบโคนัน ความปรารถนาอยากสืบค้นหาคำตอบทำให้เกิดการคิดวิเคราะห์หาองค์ประกอบที่คิดว่า “<span>น่าจะเป็นไปได้</span>” <span>ด้วยการตั้งคำถามเพื่อเก็บรายละเอียดของเรื่องที่เกิดขึ้นทั้งหมด หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล จัดลำดับความสำคัญของเหตุการณ์ จนนำไปสู่การพบคำตอบที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด</span></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span>ดังนั้นสมองทำหน้าที่คิดเชิงวิเคราะห์ในแต่ละเรื่องจะมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของเรื่องราวที่ต้องการวิเคราะห์ และแต่ละเรื่องราวอาจใช้เครื่องมือ (Tools) ที่แตกต่างกัน แต่ใช้หลักการของการคิดวิเคราะห์เหมือนกันคือ “การแยกแยะข้อมูลออกเป็นส่วน ๆ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างข้อมูลนั้น”</span></span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “การคิดเชิงวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการจำแนกแจกแจงองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 3 ข้อก่อนการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิงวิเคราะห์</span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) รับข้อมูลปัญหามาอย่ารีบด่วนสรุป</strong> หลาย ๆ ครั้งในสังคมไทยชอบใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล และชอบวิจารณ์เหตุการณ์ก่อนได้รับข้อมูลที่ถูกต้องทั้งหมด ดังนั้นเมื่อมีปัญหาเข้ามาอย่ารีบด่วนสรุปเพราะอาจส่งผลให้เรากำหนดวิธีการแก้ปัญหาหรือการรับรู้ที่ผิด ๆ ได้ เช่น ในอดีตมักได้ยินว่ายาสมุนไพรมีสารสเตียรอยด์ เราจึงไม่กล้ารับประทาน ทำให้เสียโอกาสในการรักษา บางคนถึงขั้นปิดกั้นและโจมตีการรักษาด้วยยาสมุนไพรไปเลยก็มี ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริงการรักษาด้วยแพทย์แผนไทยมีประโยชน์อย่างยิ่ง สาเหตุเป็นแค่เพียงคนบางกลุ่มเท่านั้นที่นำสารสเตียรอยด์มาใส่ในยา เพื่อหวังผลให้ขายยาได้ง่าย ๆ<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) เกิดปัญหาขึ้นอย่าด่วนแก้ ต้องมีความชัดเจนต่อปัญหาก่อน </strong>ตัวอย่างที่ผมชอบใช้บ่อย ๆ คือ พนักงานขายไม่สามารถขายสินค้าให้ได้ตามเป้าหมายในหลายไตรมาสติดต่อกัน ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้สามารถทำได้อย่างดี จนผู้จัดการฝ่ายขายมีความไม่พอใจสั่งการให้แก้ไขปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น รับพนักงานขายเพิ่ม, <span>อบรมทักษะการขายให้กับพนักงานเก่า</span>, <span>จัดโปรโมชั่น หรืออัดโฆษณา เป็นต้น สุดท้ายยอดขายไม่กระเตื้องขึ้น ในที่สุดจึงตัดสินใจลงตลาดไปพบลูกค้าเก่าทำให้พบคำตอบว่า จริง ๆ ลูกค้าพอใจในตัวสินค้าอย่างมาก แต่ไม่พอใจในการบริการหลังการขาย โดยให้บริการช้าบ้าง ไม่มาตามนัดบ้าง หรือแม้กระทั่งการพูดจาไม่สุภาพของพนักงานบ้าง ทำให้ลูกค้าบอกต่อสิ่งไม่ดีเหล่านี้ไปเรื่อย ๆ เป็นปัญหาสะสมอย่างเงียบ ๆ ทำให้ผู้จัดการฝ่ายขายไม่ทราบสาเหตุปัญหาแท้จริงอย่างทันท่วงที จึงส่งผลให้การแก้ปัญหาไม่บรรลุผล แม้ว่าจะใช้หลากหลายวิธีการก็ตาม</span></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) ฝึกตั้งคำถามเชิงวิเคราะห์</strong> การคิดเชิงวิเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพต้องรู้จักตั้งคำถาม โดยการตั้งคำถามต้องเกี่ยวข้องกับการจำแนกแจงองค์ประกอบ และการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบนั้น ๆ หรือระหว่างเรื่องที่วิเคราะห์กับเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถใช้แนวคิดคำถามด้วย 5W + 1H (What, Who, When, Where, Why and How) ซึ่งการตั้งคำถามจะทำให้ได้ข้อเท็จจริงใหม่ ความเข้าใจใหม่ หรือมุมมองใหม่ ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการประเมินและตัดสินใจมากขึ้น<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเราต้องใช้การคิดวิเคราะห์อยู่เสมอ ถ้าเราต้องการพัฒนาทักษะด้านนี้ให้ดียิ่งขึ้น มีความจำเป็นต้องพัฒนาความสามารถของสมองในการคิดเชิงวิเคราะห์ ซึ่งในบทความตอนที่ 2 จะกล่าวถึงเครื่องมือ (Tools) ที่ช่วยให้การวิเคราะห์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หรือได้คำตอบที่ถูกต้องนั่นเอง <a href="../../%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-53024-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-2.html">(Click บทความตอนที่ 2)</a></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">(เครดิต: คัดลอกข้อมูลบางส่วนจากหนังสือ “การคิดเชิงวิเคราะห์ - ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์”)</span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1c39p7pogf75shrhhj1o4gte9b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-04 14:54:38 [comment_status] => 0 [viewed] => 15257 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [4] => Array ( [article_id] => 47727 [category_id] => 3139 [title] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (2) [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (2) [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (ตอนที่ 2)<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2.jpg" width="1110" height="476" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การเลือกเครื่องมือแก้ปัญหาขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังวิเคราะห์ปัญหาอะไร ในบทความนี้จะขอนำเครื่องมือใน 7 QC Tools และ 7 New QC Tools มาขยายความว่าเครื่องมือแต่ละชนิดมีวัตถุประสงค์อะไรในการใช้ หรือกล่าวเป็นภาษาง่าย ๆ ว่าเจอปัญหาแบบนี้ควรเลือกเครื่องมือประเภทนี้นั่นเอง</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7 เครื่องมือแก้ปัญหาคุณภาพแบบประยุกต์ (7 QC Tools Practice) </strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet)</strong> <em>“แบบฟอร์มที่ออกแบบสำหรับการบันทึกข้อมูล โดยข้อมูลนั้นมีความจำเป็นต้องนำไปใช้ต่อเพื่อตอบวัตถุประสงค์คุณภาพหรือนำไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ”</em> เช่น การบันทึกความยาวของหลอดใส่ครีมเพื่อตรวจสอบว่ากระบวนการผลิตมีความผันแปรอย่างไร การเก็บรอยตำหนิของรถยนต์ที่เข้ามาใช้บริการเพื่อป้องกันการเข้าใจผิดของลูกค้า การนับชนิดของข้อบกพร่องที่ปรากฎบนชิ้นงานเพื่อกำหนดวิธีการแก้ปัญหา หรือแบบสอบถามทางการตลาดเพื่อนำไปใช้พัฒนาสินค้า เป็นต้น ดังนั้นแผ่นตรวจสอบจึงมีประโยชน์มากถ้าเราออกแบบอย่างถูกวิธี โดยหลักการออกแบบแผ่นตรวจสอบเป็นดังนี้ </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> A) แผ่นตรวจสอบต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (ตามตัวอย่างข้างต้น)<br /> B) การออกแบบต้องเก็บข้อมูลที่ตอบวัตถุประสงค์เท่านั้น อย่าเก็บข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง<br /> C) การออกแบบต้องทำให้ผู้บันทึกสามารถบันทึกข้อมูลได้ง่าย สะดวก และเขียนน้อยที่สุด<br /> D) การออกแบบต้องทำให้ผู้อ่านสามารถอ่านผลได้รวดเร็ว ไม่เสียเวลาตีความ</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “โดยสรุปแผ่นตรวจสอบ (Check Sheet) เป็นเครื่องมือช่วยเก็บข้อมูลที่มีประโยชน์เพื่อช่วยวิเคราะห์ปัญหาในเบื้องต้น อันเนื่องมาจากผู้แก้ปัญหามีข้อมูลไม่เพียงพอ”<br /></span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) แผนภูมิกราฟ (Graph)</strong> <em>“แผนภูมิที่ใช้นำเสนอข้อมูลที่มีรายละเอียดมาก โดยนำเสนอในลักษณะกราฟต่าง ๆ เพื่อสื่อความเข้าใจให้ง่ายขึ้น”</em> เช่น กราฟแท่งสำหรับเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ 2 ข้อมูลขึ้นไป กราฟวงกลมสำหรับเปรียบเทียบสัดส่วนของข้อมูลแต่ละประเภท หรือกราฟเส้นสำหรับการแสดงแนวโน้มของข้อมูล เป็นต้น โดยแผนภูมิกราฟยังสามารถใช้ร่วมกับแผ่นตรวจสอบได้อีกด้วย ซึ่งเป็นการแปลงข้อมูลที่เก็บบันทึกได้ในแผ่นตรวจสอบมาสู่การนำเสนอด้วยกราฟเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นนั่นเอง</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) แผนผังพาเรโต (Pareto Diagram)</strong> <em>“แผนภูมิกราฟแท่งที่นำเสนอข้อมูลอย่างมีลำดับจากมากไปน้อยในรูปของความถี่หรือปริมาณของสาเหตุหรือประเด็นที่สนใจ เพื่อนำไปสู่การเลือกแก้ปัญหา 20% เพื่อลดปัญหาลง 80%”</em> ถ้าพิจารณาจากข้อความข้างต้นอาจกล่าวได้ว่า มีสาเหตุเล็กน้อย (20%) ที่สร้างปัญหาใหญ่ (80%) (หลักการพาเรโต – 80:20) ดังนั้นคงไม่ต้องบอกนะครับว่าเราควรเลือกแก้ปัญหาอะไรก่อน ใคร ๆ ก็รู้ ในความเป็นจริงผู้ที่คลุกคลีอยู่หน้างานย่อมรู้สาเหตุปัญหาอยู่แล้ว ไม่ต้องใช้หลักการพาเรโตเขาย่อมบอกสาเหตุได้ แต่อย่าลืมนะครับว่าผู้บริหารไม่รู้อย่างที่เขารู้ ดังนั้นการได้มาซึ่งแผนผังพาเรโตคือ การเก็บบันทึกข้อมูลด้วยแผ่นตรวจสอบและนำข้อมูลมาแปลงเป็นกราฟแท่ง โดยกราฟแท่งนี้มีความพิเศษตรงที่มีการกำหนดจำนวนเปอร์เซ็นต์ไว้ด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการกำหนดจำนวนสาเหตุที่ต้องแก้ไขแล้วส่งผลให้ปัญหาลดลง 80%</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 660.667px; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “โดยสรุปหลักการพาเรโต (Pareto Concept) คือ การมุ่งเน้นกำจัดสาเหตุของปัญหา 20% ซึ่งส่งผลให้ปัญหาลดลง 80%”<br /></span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4</strong></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>) แผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)</strong> <em>“<span>แผนผังที่แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุและผลของสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุในแต่ละกลุ่มสาเหตุหลัก ซึ่งสาเหตุทั้งหมดนั้นส่งผลต่อปัญหาที่ต้องการแก้ไข (หัวปลา)</span>”</em> ถ้าพิจารณาคำว่า “ปัญหาที่ต้องการแก้ไข” แสดงว่าต้องมีการกำหนดปัญหาให้ชัดเจน เนื่องจากปัญหาในกระบวนการอาจมีหลายระดับ เช่น ในระดับนโยบายกำหนดให้ลดเวลาหยุดของเครื่องจักร (Downtime) โดยแต่ละแผนกมีเครื่องจักรหลายประเภทที่หยุดทำงาน (Breakdown) และแต่ละเครื่องจักรมีสาเหตุอีกหลายสาเหตุที่ทำให้เครื่องจักรหยุดทำงาน ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมาเรียกว่า “ปัญหา” ได้ทั้งหมดเพียงแต่ว่าอยู่ในระดับชั้นที่ต่างกัน และปัญหาทั้งหมดสามารถนำมากำหนดเป็นปัญหา (หัวปลา) ได้ แต่ในทางปฏิบัติการเลือกปัญหา (หัวปลา) ต้องพิจารณาถึงความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ดังนั้นแผนผังพาเรโตจะเป็นตัวช่วยคัดเลือกปัญหา (หัวปลา) ได้อย่างดี</span></p> <p style="text-align: center;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2.png" width="438" height="350" /></p> <p style="text-align: left;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) แผนผังกลุ่มเครือญาติ (Affinity Diagram) </strong><em>“<span>แผนผังที่มีการจัดกลุ่มของสาเหตุหลายสาเหตุให้อยู่เป็นหมวดหมู่เดียวกัน (กลุ่มสาเหตุหลัก) โดยในแต่ละสาเหตุภายในกลุ่มย่อมมีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ซึ่งนำไปสู่การวิเคราะห์ด้วยการถามทำไม </span>5 <span>ครั้ง </span>(5 Why Technique) <span>และนำไปสร้างแผนผังสาเหตุและผล</span>”</em> เมื่อพิจารณาข้อความดังกล่าวเรานำแผนผังกลุ่มเครือญาติมาประยุกต์ใช้กับแผนผังสาเหตุและผล โดยใช้เทคนิคระดมสมอง (Brainstormimg) มาช่วยค้นหาสาเหตุที่กระจัดกระจายอยู่นั่นเอง และนำมารวมเป็นกลุ่มสาเหตุเดียวกัน ถัดจากนั้นจึงค้นหาความสัมพันธ์ของแต่ละสาเหตุด้วยการถามทำไม 5 ครั้ง เพื่อนำไปสู่การค้นพบรากสาเหตุที่แท้จริงนั่นเอง (Root Cause) </span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “แผนผังกลุ่มเครือญาติ (Affinity Diagram) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการนำช่วยค้นหารากสาเหตุ (Root Cause) ในแผนผังสาเหตุและผล”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p style="text-align: left;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) แผนผังต้นไม้ (Tree Diagram) </strong><em>“<span>แผนผังที่ใช้ค้นหารากสาเหตุ </span>(Why – Why Tree) <span>หรือใช้ค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหา </span>(How – How Tree)”</em> ในบริบทนี้จะนำแผนผังต้นไม้มาใช้ค้นหาแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งหมายถึงการนำรากสาเหตุสุดท้ายในแผนผังสาเหตุและผลมาค้นหาวิธีการแก้ไขนั่นอง การค้นหาต้องใช้การถามอย่างไรไปเรื่อย ๆ (How Technique) เหมือนกับการถามทำไม 5 ครั้ง แต่ในเทคนิคนี้ไม่ได้ระบุเป็น 5 How Technique นะครับ 55555 การถามไปเรื่อย ๆ จะยุติที่ได้งานที่ระบุได้ชัดเจนว่าต้องทำอะไรบ้าง เช่น การปรับปรุงวิธีซ่อมบำรุง (เป้าหมายลดการหยุดของเครื่องจักร) อาจยังระบุงานได้ไม่ชัดเจน ควรถามต่อว่า “เราจะปรับปรุงวิธีการซ่อมบำรุงได้อย่างไร” คำตอบคือ 1) ประชุมทีมช่างเพื่อค้นหาไอเดีย 2) สรุปและจัดเก็บไอเดียที่ได้ผลเป็นคู่มือ ซึ่งจะเห็นว่าเราได้งานที่ระบุชัดเจนแล้ว และเป็นงานที่ต้องทำร่วมกันทั้งข้อ 1 และ 2 (ทำแบบร่วม ไม่ได้ทำแบบเลือก)</span></p> <p style="text-align: center;"><img src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89.png" alt="" width="438" height="350" /></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7) เทคนิคประกอบเครื่องมือ 6 <span>ชนิด </span></strong> ผมนำเทคนิคมาเพิ่มในหัวข้อที่ 7 เนื่องจากเทคนิคต่าง ๆ นี้ใช้ประกอบกับเครื่องมือแก้ปัญหาคุณภาพ และไม่จัดอยู่ใน 7 QC Tools & 7 New QC Tools </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> A) การระดมสมอง (Brainstorming) <span>ใช้เมื่อต้องการไอเดียต่าง ๆ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกัน </span><br /> B) การถามทำไม 5 <span>ครั้ง </span>(5 Why Technique) <span>ใช้เมื่อต้องการค้นหาสากเหตุที่ระดับลึกลงไป </span><br /> C) การถามอย่างไร (How Technique) ใช้เมื่อต้องการค้นหาแนวทางแก้ปัญหาให้มีความหลากหลาย<br /> D) การตรวจสภาพการณ์ที่ไม่ตกหล่นหรือซ้ำซ้อน (MECE Technique) <span>ใช้เพื่อตรวจสอบประเด็นต่าง ๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด </span>(<span>ไม่ตกหล่น) และตรวจสอบประเด็นต่าง ๆ ที่ซ้ำกัน (ซ้ำซ้อน)</span><br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กล่าวโดยสรุปผมนำเครื่องมือแก้ปัญหาคุณภาพทั้ง 6 ชนิด พร้อมเทคนิคประกอบการใช้เครื่องมือ นำมาเชื่อมโยงและเรียงร้อยการใช้งาน เพื่อแสดงให้เห็นว่าการแก้ปัญหาคุณภาพไม่สามารถแก้ได้ด้วยเครื่องมือเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น ต้องอาศัยเครื่องมือและเทคนิคหลายชนิดร่วมกัน ซึ่งนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบนั่นเอง</span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1ehc1csrqa3mqvcooehk1n7ab.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-04 14:49:59 [comment_status] => 0 [viewed] => 9587 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [5] => Array ( [article_id] => 47728 [category_id] => 3139 [title] => การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88.jpg" alt="" width="1110" height="476" /><br /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คุณเชื่อหรือไม่ว่าคุณต้องแก้ปัญหาและตัดสินใจทุกวัน? ถ้าคุณไม่เชื่อ ผมจะพิสูจน์ด้วยตัวอย่างง่าย ๆ เช่น ถ้าพรุ่งนี้คุณต้องออกจากบ้าน คุณต้องเลือกชุดแต่งกาย ระหว่างทางถ้าคุณหิว คุณต้องเลือกประเภทอาหารหรือร้านอาหารที่อยากรับประทาน เป็นต้น ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวล้วนเป็นปัญหาระดับพื้นฐานที่คุณสามารถแก้ได้อย่างง่ายดาย ไม่มีความซับซ้อน แม้ว่าบางปัญหาอาจจะยากตอนเริ่มต้น เช่น การเดินทางไปเรียนหนังสือในสถานที่แห่งใหม่ที่ไม่คุ้นเคย แม้ว่าครั้งแรกคุณอาจจะประสบปัญหาบ้างในการเลือกเส้นทางหรือการคำนวณเวลา แต่เมื่อเราสามารถแก้ปัญหาด้วยการค้นหาเส้นทางที่ดีที่สุดได้แล้ว เราพบว่าการไปเรียนครั้งถัดไปไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป เนื่องจากเราสามาถจัดการกับปัญหาได้แล้ว </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ทั้งหมดที่ผมกล่าวมาเรียกว่า “ความเคยชินต่อปัญหาจนรู้สึกว่าไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป” แต่โดยแท้จริงแล้ว “กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจ” ดำเนินอยู่ตลอดเวลาเพียงแต่มันเปลี่ยนไปอยู่ในรูปแบบของความเคยชินแทน และที่สำคัญสิ่งที่เจอเป็นปัญหาพื้นฐานที่ไม่มีความซับซ้อน ไม่ต้องการการวิเคราะห์เชิงรูปธรรมมากนัก</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจแบบที่ผมจะกล่าวต่อไปนี้ เน้นจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อน ต้องมีการวิเคราะห์ปัญหา กำหนดเป้าหมายในการแก้ปัญหา สร้างทางเลือกในการแก้ ประเมินแต่ละทางเลือก และเลือกวิธีที่ดีที่สุด เราจะไม่นำหลักการดังกล่าวไปใช้กับการตัดสินใจปัญหาพื้นฐานทั่ว ๆ ไป เช่น การเลือกดื่มกาแฟโดยการวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาล คาเฟอีน และประเมินผลกระทบจากการดื่มกาแฟคาปูชิโนเปรียบเทียบกับกาแฟเอสเปรสโซ หรือการเลือกรับประทานโดยการประเมินแคลอรี่ที่เกิดขึ้นระหว่างข้าวผัดกับข้าวขาหมู เป็นต้น ซึ่งถ้าเราต้องวิเคราะห์และประเมินทางเลือกตลอดเวลาในทุกกิจกรรม ผมว่าเราอาจบ้าได้ </span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ดังนั้นการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจจะเน้นแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือปัญหาทางธุรกิจ ที่มีความเสี่ยงเข้ามาเกี่ยวข้องถ้าเราตัดสินใจผิด” </span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ในเบื้องต้นก่อนแก้ปัญหา เราควรทำความเข้าใจกับคำว่า “ปัญหา” ก่อนว่ามันหมายถึงอะไร “ปัญหา (Problem) หมายถึง ความเบี่ยงเบนของผลดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง (Actual Performance) จากผลดำเนินงานที่ควรจะเป็น (Should Performance)” เช่น รายได้จากการขายต่ำกว่า 2000 ล้านบาท , ของเสียในกระบวนการผลิตเกิน 3%, อัตราการลาออกของพนักงานสูงกว่า 5% เป็นต้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วย่อมสร้างความไม่พอใจกับผู้เกี่ยวข้อง</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">แต่มีปัญหาอีกประเภทหนึ่งเรียกว่าเป็นปัญหาที่สร้างขึ้นมา มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร หรือเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการให้ดีขึ้น เช่น การตั้งเป้าหมายยอดขายให้สูงกว่าเดิมที่ทำได้แล้วอีก 10%, การลดของเสียในกระบวนการผลิตจากเกณฑ์ที่ยอมรับแล้วให้เหลือ 0.5% เป็นต้น ซึ่งแท้จริงแล้วความเบี่ยงเบนถูกสร้างขึ้นจากความคาดหวังให้มีผลการปฏิบัติงานสูงขึ้นกว่าเดิมนั่นเอง</span></p> <p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ขั้นตอนการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ</span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความชัดเจนต่อประเด็นปัญหา (Frame the Issue Properly) </strong> เป็นด่านแรกที่จำเป็นและสำคัญที่สุด เราจะไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือตัดสินใจได้ดี ถ้าเราล้มเหลวกับความชัดเจนต่อประเด็นปัญหา หรืออาจเรียกอีกอย่างว่าไม่สามารถกำหนดกรอบของปัญหาได้เหมาะสม ผมชอบยกตัวอย่างง่าย ๆ สำหรับการเรียนรู้ในหัวข้อนี้คือ การหาของในห้องเก็บของไม่เจอ โดยความชัดเจนต่อประเด็นปัญหาของเรื่องนี้คือ เรากำหนดกรอบของปัญหาว่าเกิดจาก “หลอดไฟเสีย” หรือ “ไม่มีแสงสว่าง” ซึ่งทั้งสองประเด็นปัญหาเป็นสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง ๆ ต่อปัญหา</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ถ้าเรามีความชัดเจนและเข้าใจประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น การแก้ปัญหาจะส่งผลกระทบต่อเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ถ้าเรากำหนดกรอบของปัญหาคือหลอดไฟเสีย เป้าหมายของการแก้ปัญหาคือการได้หลอดไฟปกติ (ไม่เสีย) แต่ถ้าเรากำหนดกรอบปัญหาคือไม่มีแสงสว่าง เป้าหมายของการแก้ปัญหาคือการมีแสงสว่าง ซึ่งทั้งสองประเด็นมีวิธีการได้มาแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">จากตัวอย่างข้างต้นเราสามารถเทียบเคียงกับปัญหาทางธุรกิจได้เช่นกัน เช่น ปัญหายอดขายต่ำกว่าเป้า 15% ซึ่งจากการวิเคราะห์มีประเด็นปัญหามากมายหลายสาเหตุ ความชัดเจนต่อประเด็นปัญหาจึงมีความสำคัญมาก และในความเป็นจริงของโลกธุรกิจ การกำหนดกรอบปัญหาอาจไม่ได้มีแค่เพียงประเด็นเดียว และประเด็นปัญหาอาจมีภาวะซ้อนทับกันอยู่</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ดังนั้นความชัดเจนต่อประเด็นปัญหาและเป้าหมายของการแก้ปัญหาจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง” </span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การพัฒนาทางเลือกแก้ประเด็นปัญหา (Generate Alternatives)</strong> หลังจากเรากำหนดกรอบของปัญหาได้อย่างเหมาะสมแล้ว เราต้องสร้างหรือพัฒนาทางเลือกแก้ประเด็นปัญหาดังกล่าว ถ้าเรามีเพียงทางเลือกเดียวมีนัยยะว่าการตัดสินใจครั้งนั้นอาจจะไม่มีใช่การตัดสินใจที่แท้จริงและเหมาะสม จึงจำเป็นต้องสร้างทางเลือกหลาย ๆ ทางเพื่อนำแต่ละทางเลือกมาประเมิน เปรียบเทียบซึ่งกันและกันในมิติต่าง ๆ</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การประเมินแต่ละทางเลือก (Evaluate the Alternatives)</strong> เมื่อได้ทางเลือกที่สมเหตุสมผลแล้ว นำแต่ละทางเลือกมาประเมินถึงความเป็นไปได้ (Feasibility), ความเสี่ยง (Risk), ความเกี่ยวข้องหรือผลกระทบกับส่วนอื่น (Implications), เวลา (Time) และอื่น ๆ โดยปกติแล้วมีเครื่องมือประเมินหลายชนิด เช่น การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis), เมทริกจำลำดับความสำคัญ (Prioritization Matrix), แผนผังต้นไม้ (Decision Trees)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Choose the Best Alternative)</strong> เมื่อดำเนินการอย่างเหมาะสมกับแต่ละทางเลือก ขั้นตอนสุดท้ายคือเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ถ้ากระบวนการคิดแก้ปัญหาเกิดจากบุคคลเดียว การตัดสินใจเลือกวิธีที่ดีที่สุดจะเกิดจากมุมมองของคนหนึ่งคน แต่ถ้ากระบวนการเกิดจากทีม (Cross – Functional Team) ซึ่งเป็นภาวะปกติที่เกิดขึ้นเสมอ มุมมองของการเลือกย่อมมีความแตกต่างกัน ก่อให้เกิดอคติ ความคลุมเครือ และความเห็นที่แตกต่างกันได้ ซึ่งทำให้ยากต่อการตัดสินใจครั้งสุดท้าย ดังนั้นถ้ามีปัญหานี้เกิดขึ้นเราสามารถใช้เครื่องมือมาช่วยแก้ ได้แก่ Catchball, Point – Counterpoint and Intellectual Watchdog </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเราต้องอยู่กับการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา ทั้งระดับปัญหาที่ไม่ซับซ้อนและไม่ต้องวิเคราะห์เชิงรูปธรรม ไปจนถึงระดับปัญหาทางธุรกิจที่มีความซับซ้อนและต้องการเครื่องมือแก้ปัญหาเชิงรูปธรรม ซึ่งในประเด็นหลังจะช่วยเรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความคิดอย่างมีเหตุผลให้กับทีมตัดสินใจ (The decision Team) ได้เป็นอย่างดี</span></p> </blockquote> </div> <p> </p> [image] => o_1ehc1k8mc125hss5145js4r393b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-04 14:52:22 [comment_status] => 0 [viewed] => 7442 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [6] => Array ( [article_id] => 47725 [category_id] => 3139 [title] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์ [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์ [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C.jpg" alt="" width="1110" height="476" /><br /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คุณต้องการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพหรือไม่? ถ้าคำตอบคือ “ไม่” บทความนี้อาจมีประโยชน์กับคุณเพียงเล็กน้อย แต่ถ้าคำตอบคือ “ใช่” การบริหารเวลาเชิงประสิทธิภาพต้องการความมุ่งมั่นทางจิตใจของคุณอย่างมากที่สุด แต่ก่อนอื่นคุณควรตั้งคำถามง่าย ๆ กับตนเองก่อนว่า “คุณอยากนำเวลาที่มีอยู่หรือที่สร้างเพิ่มขึ้นมาไปใช้กับอะไร” คำตอบที่ได้จะสะท้อนการมีหรือไม่มี “เป้าหมาย” ที่ชัดเจนของคุณ คุณอาจจะเกิดคำถามว่า แล้วมันไปเกี่ยวอะไรกับเป้าหมาย แค่ทำงานให้เสร็จตามกำหนดของหัวหน้า ส่งรายงานตามกำหนดการมอบหมาย แค่นั้นก็น่าจะพอแล้วนะ ถูกต้องครับ!!! ถ้าคุณมีเป้าหมายแค่นั้น แต่ถ้าคุณต้องการมากกว่านั้น เราควรเริ่มต้นกันเลยดีกว่า</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เวลานับว่าเป็นสินทรัพย์อย่างหนึ่งที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา ไม่มีใครหยุดมันได้ มีปริมาณเท่ากันใน 1 รอบสมมติคือ 24 ชั่วโมง คุณมีเวลาจำกัดใน 1 รอบสมมติ คุณใช้เวลาอย่างไรนั้น มันมีผลกระทบต่ออนาคตในทุกมิติของคุณ ดังนั้นการบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กล่าวอย่างรวบรัดมีเพียงแค่ 2 ประเด็นคือ เทคนิคและเป้าหมาย และอีก 1 ความมุ่งมั่นของจิตใจเป็นหลักการเบื้องต้นของการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ เป้าหมายเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกของการบริหารเวลา คุณจะไม่สามารถจัดสรรและบริหารเวลาได้เลย จนกว่าคุณจะตัดสินใจอย่างชัดเจนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายระยะสั้นตั้งแต่หนึ่งวันจนถึงหนึ่งปี หรือเป้าหมายระยะยาวคือมากกว่าหนึ่งปีขึ้นไป และที่สำคัญเป้าหมายระยะสั้นในแต่ละช่วงต้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน และสอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด เพราะทำให้เราทุ่มเทหนึ่งครั้ง ส่งผลกระทบหลายด้าน</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “การบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 8 ประการ ของการบริหารเวลาเพื่อให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ</span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความชัดเจนต่อเป้าหมาย (Goals, Objectives or Targets)</strong> เป็นสิ่งแรกที่จำเป็นและสำคัญที่สุด คุณไม่สามารถจะขึ้นโดยสารคันไหนได้เลยถ้าคุณไม่รู้ว่าตนเองต้องการจะไปที่ไหน ดังนั้นคุณต้องคิดก่อนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ในชีวิตทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตัวอย่างของผมคือ “ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ (Independent Study – IS) ได้ระดับดีมากและสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจได้ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2” ขอให้สังเกตว่าเป้าหมายที่ผมเขียนนั้นมีลักษณะเด่น 5 ประการ (STAVE - ตีแตกเป้าหมาย)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> A. มีการระบุอย่างชัดเจน (Specific - ความต้องการของผมชัดเจน)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> B. มีกำหนดระยะเวลา (Time - ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> C. มีโอกาสสำเร็จได้จริง (Attainable - ผมประเมินตนเองว่าทำได้)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> D. มีความสำคัญต่อผู้กำหนดเป้าหมาย (Value – ต่อยอดธุรกิจของผมได้)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> E. เกิดประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์กับตนเอง (Experience - ผมใช้ประสบการณ์นี้ในอนาคตได้) </span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “คุณต้องตีเป้าหมายให้แตก ดังนั้นคุณควรตั้งเป้าหมายด้วยแนวคิด STAVE”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อคุณมีเป้าหมายแล้ว คุณต้องมีวิธีการบรรลุเป้าหมาย และทุกวิธีการต้องใช้เวลา<strong> “เป้าหมาย - วิธีการ - เวลา”</strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การสร้างความตระหนักรู้การใช้เวลา (Awareness)</strong> คุณจะตระหนักรู้ได้ คุณต้องบันทึกการใช้เวลาของคุณใน 24 ชั่วโมง ประมาณ 1 สัปดาห์ มันจะทำให้คุณรู้ว่าแต่ละวันคุณใช้เวลาไปกับกิจกรรมอะไรบ้าง การทำเช่นนี้ช่วยให้คุณวิเคราะห์ได้ว่า คุณกำลังใช้เวลาไปกับกิจกรรมที่ถูกต้องเพื่อการบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เมื่อคุณเริ่มตระหนักรู้ คุณจะค้นพบประเด็นบางอย่างที่สามารถปรับปรุงการใช้เวลาได้ เช่น ผมดูยูทูปตอนดึกมากเกินไปทำให้ผมตื่นแต่เช้ามืดมาอ่านหนังสือไม่ได้ (การอ่านหนังสือเป็นกิจกรรมที่อยู่ใน To do list ที่ผมวางไว้เพื่อบรรลุเป้าหมาย)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การตัดสินใจเลือก (Decision Making)</strong> เมื่อคุณตั้งเป้าหมาย (เป้าหมาย - วิธีการ - เวลาที่ใช้) และวิเคราะห์การใช้เวลาแล้ว สำหรับผมแล้วการตัดสินใจเลือกคือส่วนที่ยากที่สุด เพราะคุณต้องใช้พลังใจอย่างสูงต่อการไม่ทำหรือลดบางอย่างที่ชอบ และฝืนใจตนเองไปทำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย ถ้าคุณผ่านจุดนี้ไปได้คุณจะมีความภาคภูมิใจตนเองสูงขึ้น และวางแผนแล้วไม่นิ่ง (Plan แล้วนิ่ง)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) ค้นหาความมีประสิทธิภาพของเวลา (Time Efficiency)</strong> การบริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ เวลาแต่ละชั่วโมงของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ตอนไหนที่คุณมีพลังงานสูงสุด ใช้มันจัดการกับงานยาก ๆ แนวคิดนี้จะทำให้คุณได้ผลสำเร็จของงานในระยะเวลาสั้น กุญแจสู่ความมีประสิทธิภาพของเวลาคือ การมีสมาธิจดจ่อกับการใช้พลังงานมากกว่าการจดจ่ออยู่กับกำหนดเวลา และตอนไหนพลังงานคุณน้อย แนะนำว่าให้นำไปใช้กับงานที่ไม่ต้องใช้ความคิดเยอะ แต่ใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายเยอะกว่า แต่อย่าลืมว่าคุณจะมีสมาธิและพลังงานสูง คุณต้องพักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่มากหรือน้อยเกินไป</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) สร้างเวลาเพิ่มเติม</strong> แม้ว่าเวลามีปริมาณจำกัด แต่คุณสามารถทำให้มันเพิ่มได้ คุณควรคิดทบทวนแต่ละกิจกรรมระหว่างวันในหนึ่งสัปดาห์ อาจมีช่องว่างให้คุณเติมกิจกรรมเล็ก ๆ ลงไปได้ เช่น ผมชอบใช้เวลา ½ ชั่วโมง อ่านหนังสือขณะรอเรียนที่มหาวิทยาลัย ไม่ใช้หมดไปกับการรับประทานอาหารเพียงอย่างเดียว ดังนั้นในหนึ่งสัปดาห์ผมได้เวลาเพิ่มขึ้นอีก 1.5 ชั่วโมง สำหรับการอ่านหนังสือ ซึ่งกิจกรรมนี้ส่งผลต่อเป้าหมายของผมด้วย </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) อย่าผัดวันประกันพรุ่ง</strong> วันนี้ก่อนเข้าบ้านตั้งใจไปเติมน้ำมันให้เต็มถัง สังเกตเห็นป้ายข้อความว่า พรุ่งนี้น้ำมันลด 2 บาท จึงเปลี่ยนใจไปเติมวันพรุ่งนี้ เมื่อไปเติมเต็มถัง แปลกใจว่าทำไมเด็กปั๊มคิดราคาเท่าเดิม เด็กปั๊มชี้ไปที่ป้ายแล้วบอกว่า “พรุ่งนี้ไม่มีวันมาถึง มีแต่วันนี้เท่านั้น” การผัดวันประกันพรุ่งคือ นักฆ่าเป้าหมาย ดังนั้นจงบังคับตัวองด้วยการกำหนด Action Plan (แผนลงมือกระทำจริงจัง ไม่เป็นนามธรรม) แล้วลงมือทำทันที</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7) จัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม</strong> ความไร้ระเบียบของสภาพแวดล้อมในการทำงานส่งผลต่อระเบียบความคิดภายในจิตใจ คุณต้องสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้จิตใจมีพลังงานสูง (อ่านต่อบทความเทคนิคการจัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>8) วางแผนพร้อมลุย</strong> การวางแผนคือการตัดสินใจล่วงหน้าในสิ่งที่คุณต้องทำเพื่อบรรลุเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด แสดงว่าเราควรวิเคราะห์ล่วงหน้าว่าจะทำอะไร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร แล้วมันตอบเป้าหมายของคุณ เทคนิคที่ต้องใช้คือ</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> A. TO DO LIST เขียนกิจกรรมสำคัญที่ต้องทำต่อการบรรลุเป้าหมาย </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> B. Priority จัดลำดับงาน โดยเลือกทำงานสำคัญก่อน คุณอาจใช้หลัก ABC หรือแนวคิดสำคัญเร่งด่วนก็ได้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> C. 80 : 20 Rule แนวคิดที่สร้างความคล่องตัวในการทำงานคือ การลงมือทำน้อย แต่ได้รับผลมาก คุณไม่ต้องทำทุกเรื่อง แต่เลือกทำเฉพาะในลิสต์ที่<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ทำให้คุณบรรลุเป้าหมาย จงเรียนรู้การกำหนดสิ่งสำคัญที่ต้องทำ และตัดสิ่งไม่จำเป็นออกให้หมด ควรถามตนเองบ่อย ๆ ว่า “อะไรที่เราต้องทำ 20% แล้วให้ผลลัพธ์แก่เรา 80%”</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเพียงแค่ลงมือทำตามหลักการ 8 ข้อ คุณสามารถบริหารเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพแน่นอน แต่ทั้งหมดต้องอยู่พื้นฐานของความมีสมาธิ เหตุผลข้อหนึ่งของคนจำนวนมากทำสิ่งต้องการได้จนสำเร็จมีน้อยมาก เพราะว่าพวกเขาไม่เคยควบคุมสมาธิของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง จึงทำให้การใช้สมาธิของเขาไม่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นจงฝึกทำอะไรให้สำเร็จทีละอย่าง และอย่ามีความเข้าใจผิดว่าทำงานหลายอย่างพร้อมกันจะเกิดสมาธิ </span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1c39p7cj2put12lf271vc2cb7b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-12-26 11:56:34 [comment_status] => 0 [viewed] => 6871 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [7] => Array ( [article_id] => 47724 [category_id] => 3139 [title] => ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม [category_name] => In-House Training Thinking Articles [category_description] => [category_image] => [description] => ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม<br />(ข้อมูลจำลองของทักษะสำคัญของผู้จัดการยุค 4.0)</strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/3)%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A1%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ยุคนี้เป็นยุคที่มีการระบุต่อท้ายคำด้วย 4.0 เช่น Thailand 4.0, Industry 4.0, HR 4.0 เป็นต้น เพื่อไม่ให้ตกเทรนด์บทความนี้จึงนำเสนอ “ทักษะสำคัญของผู้จัดการยุค 4.0” หรือ “Managerial Skill 4.0” แต่ก่อนลงรายละเอียดของแต่ละทักษะ เราควรเข้าใจความหมายผู้บริหารหรือผู้จัดการ ตลอดจนหน้าที่ และบทบาทของผู้บริหาร เพื่อนำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญของผู้บริหารยุค 4.0 ที่ควรมีในศตวรรษที่ 21</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ผู้บริหารคือใคร (Who is Managers?) สามารถให้นิยามตามองค์ประกอบดังนี้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">1) เป็นผู้มีตำแหน่งบริหารและมีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจสั่งการตามสายการบังคับบัญชา (Line Authority) 1) เป็นผู้มีตำแหน่งบริหารและมีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจสั่งการตามสายการบังคับบัญชา (Line Authority)<br />2) ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชาที่ปฏิบัติงานและรายงานผลการปฏิบัติงานขึ้นตรงต่อผู้จัดการ (Manager has subordinates)<br />3) เป็นผู้ทำงานให้สำเร็จโดยอาศัยบุคคลอื่น (Get things done through other people)<br />4) เป็นผู้ต้องรับผิดชอบผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาและผลสำเร็จของหน่วยงาน (Responsibility)<br />5) เป็นผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) และทรัพยากรอื่น ๆ (Material Resource)</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ดังนั้นถ้ากล่าวถึงคุณลักษณะที่เด่นชัดของผู้บริหารคือ ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชา”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">จากนิยามของผู้บริหารข้างต้นไม่อาจทำให้เราเข้าใจภาพรวมของการบริหารทั้งหมด จำเป็นต้องศึกษาหน้าที่ของบริหาร (The Functions of Management) ซึ่งผู้บริหารมีหน้าที่หลักดังนี้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) การวางแผน (Planning)</strong> โดยการตั้งเป้าหมายและหาวิธีการเพื่อนำการบรรลุเป้าหมาย (Setting performance objectives and deciding how to achieve them) และที่สำคัญแต่ละเป้าหมายของแต่ละแผนกต้องสอดคล้องและเกี่ยวเนื่องกันกับเป้าหมายขององค์กร ซึ่งต้องใช้การวางแผนเชิงกลยุทธ์ในแต่ละลำดับชั้น (Strategic Planning)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การจัดองค์กร (Organizing)</strong> โดยการเตรียมการด้านงาน คน และทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อทำงานให้สำเร็จ (Arranging task, people and other resources to accomplish the work) ซึ่งทำให้เกิด Organization Structure & Organization Chart ซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง Line Manager กับ HR Manager เพื่อกำหนดประเภทของคนที่ต้องการและช่วงเลาที่ต้องการ</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การนำ (Leading)</strong> โดยการกระตุ้นและสร้างแรงบันดาลใจให้คนทุ่มเททำงานเพื่อบรรลุศักยภาพที่สูงขึ้น (Inspiring people to work hard to achieve high performance) ดังนั้นการแสดงออกด้านภาะความเป็นผู้นำและการจูงใจด้วยทฤษฎีจูงใจต่าง ๆ (Leadership & Motivation Theory) จึงต้องถูกนำมาปรับใช้ผ่านการสื่อสารเชิงประสิทธิภาพ (Effective Communication)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) การควบคุม (Controlling)</strong> เพื่อให้การวางแผนเป็นไปอย่างที่ต้องการ จำเป็นต้องมีการวัดผลการปฏิบัติงานและดำเนินการปรับแก้เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการ (Measuring performance and taking action to ensure desired results) และการควบคุมยังเกี่ยวข้องประเด็นอื่น ๆ ที่ต้องถูกควบคุมโดยเฉพาะสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) เพื่อให้องค์กรดำเนินธุรกิจได้อย่างสะดวกราบรื่น</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “นอกจากหน้าที่ด้าน POLC ของผู้บริหาร ผู้บริหารที่ดีต้องเข้าใจบทบาทที่ต้องแสดงออกในตำแหน่งผู้บริหาร”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยปกติแล้วสามารถแบ่งบทบาทออกได้ 3 กลุ่มดังนี้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่าบุคคล (Interpersonal Roles)</strong> ผู้บริหารควรมีปฏิสัมพันธ์อย่างไรกับคนในองค์กร โดยแสดงออกด้านภาวะผู้นำ (Leadership) ต่อผู้ใต้บังคับบัญชาในหน่วยงานของตนเอง และด้านการประสานงาน (Liaison) เพื่อให้การทำงานภายในองค์กรราบรื่น</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) บทบาทด้านข้อมูลข่าวสาร (Informational Roles)</strong> ผู้บริหารควรจัดการกับข้อมูลอย่างไรเพื่อเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานตนเอง โดยแสดงออกด้านการตรวจสอบ (Monitor) ทั้งภายในและภายนอกองค์กร และด้านการกระจายข่าวสาร (Disseminator) ให้กับสมาชิกภายในองค์กรทราบ</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) บทบาทด้านการตัดสินใจ (Decisional Roles)</strong> ผู้บริหารควรใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจอย่างไร โดยแสดงออกด้านการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ด้วยการค้นหาโอกาสและความได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage), ด้านการแก้ปัญหา (Disturbance Handler) ด้วยการรับผิดชอบต่อการเผชิญหน้ากับปัญหาสำคัญขององค์กร, ด้านการจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocator) และด้านการเจรจาต่อรอง (Negotiator)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อเราทราบว่าผู้บริหารคือใคร มีหน้าที่อะไรบ้างในการบริหาร และต้องแสดงบทบาทอย่างไรในตำแหน่งบริหาร จึงต้องกำหนดทักษะสำคัญของผู้บริหารยุค 4.0 ที่ควรมีในศตวรรษที่ 21 โดยปกติเราแบ่ง 3 กลุ่มความสามารถเพื่อกำหนด 15 ทักษะดังนี้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความสามารถด้านเทคนิค (Technical Competency)</strong> โดยปกติแล้วผู้บริหารระดับต้นต้องมีทักษะด้านนี้มากกว่าผู้บริหารระดับกลางและสูง และต้องมีความรู้และความสามารถในการทำงานมากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อจะได้สอนและควบคุมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคนิคด้านนี้เน้นความสามารถที่จะปฏิบัติงานเฉพาะด้านอันเกี่ยวข้องกับวิธีการหรือกระบวนการใด ๆ เพื่อทำให้กิจกรรมประจำวันเสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นทักษะสำคัญของผู้จัดการยุค 4.0 ในด้านเทคนิคมีดังนี้</span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะในสายวิชาชีพ (Technical or Professional Expertise)</strong> ผู้ที่จะมาเป็นผู้บริหารได้ต้องมีความสามารถในสายงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนเองก่อน เมื่อมีผู้ใต้บังคับบัญชาจึงสามารถสอนงาน ควบคุมงาน แก้ปัญหา และให้คำปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าทักษะด้านนี้น้อยเกินไป ปัญหาที่ตามคือการควบคุมงาน การแก้ปัญหา และการให้คำปรึกษาจะไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อมุมมองของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อผู้จัดการในด้านภาวะผู้นำ (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52808-1-บทความการบริหารการเติบโตทางอาชีพ.html">“บทความการบริหารการเติบโตทางอาชีพ”</a>) </span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสอนงานและพัฒนาคน (Develops Others)</strong> ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการสอนงาน พัฒนาคนให้เกิดความรู้ ทักษะ และความสามารถที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน (KSA) ทักษะนี้มีความสำคัญอย่างมากในการช่วยแบ่งเบาภาระความรับผิดชอบของผู้บริหารด้วยการมอบหมายงาน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52809-1-บทความเทคนิคการสอนงานอย่างง่าย-ๆ.html">“บทความเทคนิคการสอนงานอย่างง่าย ๆ</a>”)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการวางแผนงาน (Planning Skill)</strong> ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการวางแผนงานกลยุทธ์เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานประจำวัน (Daily planning) ต้องเข้าใจถึงความสำคัญและความเร่งด่วนของงาน เข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างงานพัฒนา งานที่ต้องสำเร็จ งานที่ไม่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายองค์กร เป็นต้น เพื่อการใส่กิจกรรมลงในแผนงานเกิดประสิทธิภาพที่สุด (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-47725-1-การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์.html">“บทความการบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์”</a>)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการมอบหมายงาน (Delegation Skill)</strong> ถ้าผู้บริหารสอนงานเก่ง การมอบหมายงานจะไม่เป็นเรื่องยาก เนื่องจากวัตถุประสงค์ของการสอนงานคือ การแบ่งเบาภาระงานและการพัฒนาคนในหน่วยงาน ซึ่งการสอนงานจะสร้างความรู้ ทักษะ และความสามารถ (KSA) ให้เกิดแก่ผู้ปฏิบัติงานนั่นเอง (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52810-1-บทความวิเคราะห์ลูกน้องก่อนมอบหมายงาน.html">“บทความวิเคราะห์ลูกน้องก่อนมอบหมายงาน”</a>)</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></li> </ul> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ดังนั้นผู้บริหารจึงจำเป็นต้องรู้ KSA และรู้ภาวะผู้นำภายในตัวของพนักงานแต่ละคน ซึ่งจะช่วยให้การมอบหมายงานเกิดประสิทธิภาพสูงทั้งส่วนบุคคลและทีมงาน”</span></td> </tr> </tbody> </table> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะดิจิทัล (Digital Skill)</strong> เป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนภาคธุรกิจไปสู่ยุค 4.0 เพราะสภาพแวดล้อมการทำงานในอนาคตจะไม่ใช่การทำงานระหว่างคนกับคนเป็นหลัก แต่รูปแบบการทำงานจะเปลี่ยนไปสู่คนกับอุปกรณ์ที่ควบคุมด้วยระบบดิจิทัล โดยข้อเท็จจริงผู้บริหารที่อายุมากขึ้น ทักษะด้านดิจิทัลจะลดลง และเราไม่สามารถหนีกระแสดิจิทัลได้อย่างแน่นอน ดังนั้นผู้บริหารควรเตรียมการรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการกำหนดกลยุทธ์รองรับที่เหมาะสม (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52811-1-บทความอย่าหนีกระแส-แต่จงเปิดใจเรียนรู้.html">“บทความอย่าหนีกระแส แต่จงเปิดใจเรียนรู้”</a>)</span></li> </ul> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) ความสามารถด้านคน (Human Competency) </strong>สามารถเรียกอีกอย่างว่าทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งทักษะนี้มีความสำคัญกับผู้บริหารทุกระดับเท่ากัน ในแต่ละทักษะด้านนี้จะอยู่ในลำดับต้น ๆ ของทักษะที่ผู้บริหารยุค 4.0 ควรมีดังนี้</span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการคัดเลือกทีมงาน (Team Selection)</strong> ผู้จัดการมีความรู้ในระบบงาน (System) รู้องค์ประกอบของงานในกระบวนการ จึงรู้ลักษณะงานว่าเป็นอย่างไร? (Job Description) ต้องมีงานที่ต้องปฏิบัติอะไรบ้าง (Tasks) ความรับผิดชอบที่ต้องมีในงาน (Responsibilities) และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติของงาน (Duties) และรู้ว่าต้องการคนประเภทไหน? (Job Specification) มารองรับงาน โดยการวิเคราะห์ทักษะที่ต้องการในงานด้วยการประเมินความรู้ ทักษะ และความสามารถ (KSA) ทั้งหมดที่กล่าวมาผู้จัดการ (Line Manager) ต้องรู้เพื่อการคัดเลือกทีมงานที่มีประสิทธิภาพ โดยการทำงานประสานกับ HR Manager และผลเสียของการคัดเลือกที่ไม่มีประสิทธิภาพคือ เสียเวลา เสียเงิน ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52812-1-บทความการคัดเลือกพนักงานให้ตรงตามความต้องการ.html">“บทความการคัดเลือกพนักงานให้ตรงตามความต้องการ”</a>)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นผู้อื่น (Inspire and Motivate Others)</strong> ความแตกต่างระหว่างผู้จัดการตามตำแหน่ง (Position Power) กับผู้จัดการแบบผู้นำ (Personal Power) คือแบบแรกเน้นการมีอำนาจเหนือกว่าตามสายบังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาถูกกระตุ้นให้ทำงานด้วยความกลัว ไม่มีการสร้างแรงบันดาลใจหรือไม่มีวิธีการกระตุ้นให้อยากทุ่มเททำงาน ส่วนแบบหลังเน้นการสร้างภาวะความเป็นผู้นำในตัวผู้จัดการ ผู้ใต้บังคับบัญชาถูกกระตุ้นให้ทำงานด้วยความนิยมชมชอบในตัวผู้จัดการ (Referent Power) ซึ่งหนึ่งในความชื่นชมในตัวผู้จัดการคือ ความสามารถสร้างแรงบันดาลใจและการกระตุ้นผู้ใต้บังคับบัญชาให้เกิดพลังงานเชิงบวก เช่น การให้ข้อคิดในการทำงาน การพัฒนาตนเองในการทำงาน หรือการเป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน เป็นต้น (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52813-1-บทความการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นลูกน้องอย่างถูกวิธี.html">“บทความการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นลูกน้องอย่างถูกวิธี”</a>)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสื่อสารสร้างพลังงานบวก (Powerful Communication)</strong> ผู้จัดการต้องมีความสามารถในการสื่อสารเพื่อสร้างพลังงานบวก ประเด็นนี้มีความแตกต่างจากการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นผู้อื่น โดยการมองไปที่บทบาทของผู้จัดการในด้านการกระจายข่าวสาร (Disseminator) ให้กับสมาชิกภายในองค์กรหรือหน่วยงานทราบ เช่น ผลจากการประชุมพบว่ามีความจำเป็นต้องปรับลดเงินเดือน 5% ด้วยเหตุผลด้านความอยู่รอดขององค์กร ผู้จัดการที่ดีเมื่อนำข่าวสารนี้มาบอกแก่ลูกน้องในทีมต้องสื่อสารด้วยความถูกต้อง สร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้น บอกกล่าวความจำเป็นที่เกิดขึ้น และข้อดีข้อเสียต่าง ๆ เพื่อให้ทีมงานปรับตัวและมีกำลังใจทำงานต่อไป ไม่ใช่สื่อสารว่าองค์กรเอาเปรียบ ไม่ใช่ความผิดของทีมเรา ทีมขายต่างหากที่ไม่มีประสิทธิภาพ ถ้าอย่างนี้ความวุ่นวายจะเพิ่มมากขึ้นแน่นอน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52814-1-บทความสื่อสารด้วยหลักการโค้ช.html">“บทความสื่อสารด้วยหลักการโค้ช”</a>)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการทำงานเป็นทีม (Teamwork)</strong> ผู้จัดการต้องรับผิดชอบความสำเร็จของงานด้วยการอาศัยลูกน้อง ดังนั้นการสร้างทีมงานให้ทำงานร่วมมือกันอย่างลงตัวจึงจำเป็น ความสามารถและความสำเร็จของทีมตั้งต้นจากตัวผู้จัดการ ผู้จัดการต้องรับผิดชอบการสร้างระบบและผลักดันให้คนปฏิบัติตามระบบ พัฒนาคนให้มีความสามารถเข้ากันได้กับความต้องการของระบบ เป็นผู้นำที่ดีในการบริหารความขัดแย้งที่เกิดจากระบบ และสื่อสารให้ทุกคนทราบถึงความต้องการหรือเป้าหมายที่ต้องการทีม ทั้งหมดเป็นหลักการสำคัญของการทำงานเป็นทีมที่อยู่ในความรับผิดชอบของผู้จัดการ (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52815-1-บทความสร้างทีมประสิทธิภาพด้วยระบบงาน.html">“บทความสร้างทีมประสิทธิภาพด้วยระบบงาน”</a>)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ (Relation Building)</strong> ผู้จัดการต้องรับผิดชอบความสำเร็จของงานด้วยการอาศัยลูกน้องในทีม แต่อย่าลืมว่าทีมของเราไม่ได้โดดเดี่ยวหรือมีทีมเดียวในองค์กร องค์กรประสบความสำเร็จต้องอาศัยหลายทีมงาน เช่น ทีมผลิต, ทีมขาย, ทีมซ่อมบำรุง เป็นต้น ดังนั้นแต่ละทีมหลักต้องประสานงานร่วมกันให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น ดังนั้นในฐานะเจ้าบ้าน (ผู้จัดการของทีม) ต้องรู้จักสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีม ให้เกิดภาวะหรือบรรยายกาศของการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52816-1-บทความการจัดการกับความขัดแย้งในองค์กร.html">“บทความการจัดการกับความขัดแย้งในองค์กร”</a>)</span></li> </ul> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) ความสามารถด้านการคิดและตัดสินใจ (Conceptual and Decision Competency)</strong> ผู้จัดการยุค 4.0 ทุกระดับต้องมีความสามารถด้านนี้ และจะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้นเมื่ออยู่ในสายการบริหารที่สูงขึ้น</span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะความคิดเชิงระบบ (System Thinking)</strong> ผู้จัดการต้องสามารถมองเห็นองค์กรในภาพรวม โดยไม่แยกส่วน และเห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ การมองลักษณะนี้เป็นการคำนึงถึงสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ อันนำไปสู่การได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage) และคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อส่วนต่าง ๆ จากการตัดสินใจแก้ปัญหาในประเด็นสำคัญ ซึ่งการใช้ทักษะความคิดเชิงระบบให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ผู้จัดการต้องรู้จักเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการคิดต่าง ๆ ด้วย (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-47722-1-ความคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาและตัดสินใจ.html">“บทความความคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาและตัดสินใจ”</a>)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะด้านความคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)</strong> มีคำกล่าวว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” อาจเรียกได้ว่าเป็นกลยุทธ์สำรวจตนเองและคู่แข่ง โดยมีเครื่องมือสนับสนุนคือ SWOT Analysis ผู้จัดการยุค 4.0 ต้องมีทักษะด้านนี้ค่อนข้างสูง เนื่องจากเราไม่ได้อยู่ในยุคที่ไร้คู่แข่งหรือเป็นผู้ผลิตแต่เพียงผู้เดียว (Monopoly) ซึ่งผลิตอะไรก็ขายได้ แต่เราอยู่ในยุคที่องค์กรต้องแข่งขันทางด้านต้นทุน สินค้าต้องมีคุณภาพ การมีนวัตกรรมใหม่ การเงินที่มั่นคง บุคลากรต้องมีความสามารถ และอื่น ๆ ซึ่งทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากรอันมีจำกัดในองค์กร นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรในด้านต่าง ๆ เช่น กำไร (เป้าหมายสูงสุด), ภาพลักษณ์ต่อความรับผิดชอบต่อชุมชนและสภาพแวดล้อม, การตอบแทนสังคม เป็นต้น (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-47723-1-ความคิดเชิงกลยุทธ์กับการบริหารงาน.html">“บทความความคิดเชิงกลยุทธ์กับการบริหารงาน”</a>)</span></li> </ul> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ความคิดกลยุทธ์จะวิเคราะห์ว่าทำไมควรทำ และควรทำอะไร ที่ไหน อย่างไร บนทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด”</span></td> </tr> </tbody> </table> <ul> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><strong>ทักษะการแก้ปัญหาและตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making)</strong> ในแต่ละส่วนของกระบวนการก่อเกิดระบบ แต่ละส่วนที่ปฏิบัติงานย่อมมีปัญหาเกิดขึ้นได้ ผู้จัดการต้องมีทักษะการแก้ปัญหา และก่อนการแก้ปัญหาต้องเข้าใจและมีความชัดเจนต่อปัญหาที่เกิดขึ้น (Frame the Issue Properly) ซึ่งเป็นประเด็นที่สำคัญที่สุด เพราะมีผลสืบเนื่องต่อไปถึงการพัฒนาทางเลือกแก้ปัญหา ส่วนการตัดสินใจเกิดขึ้นหลังจากได้ผ่านการประเมินแต่ละทางเลือก แล้วจึงทำการเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-46761-1-การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ.html">“บทความการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ”</a>)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><strong>ทักษะการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management)</strong> การประเมินผู้ใต้บังคับบัญชาที่ขาดหลักวิชาการที่ถูกต้องมีผลเสียหลายด้าน เช่น การตัดสินใจขึ้นเงินเดือนผิด, ขาดแผนปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานทั้ง ๆ ที่ควรจะมี, การจัดการแก้ปัญหาพนักงานไม่ตรงประเด็น เป็นต้น ผลที่ตามมาอาจเสียพนักงานที่มีความสามารถไปโดยไม่ตั้งใจ ดังนั้นผู้จัดการยุค 4.0 ต้องมีความรู้ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) เพื่อนำผลจากการประเมินนั้นมาบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ให้เกิดประสิทธิภาพใน 3 ประเด็นหลักคือ 1) การตัดสินใจทางการบริหารด้านเงินเดือนและการเลื่อนตำแหน่ง 2) การพัฒนาแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 3) การจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวพนักงาน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-46783-1-การประเมินผลการปฏิบัติงาน.html">“บทความการประเมินผลการปฏิบัติงาน”</a>)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><strong>ทักษะการวัดผลปฏิบัติงานองค์กร (Performance Measurement)</strong> ผู้จัดการต้องรู้สถานะองค์กรตามความเป็นจริง โดยการทราบผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นด้วยการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร ซึ่งการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กรที่มีประสิทธิภาพต้องเกิดจากการออกแบบที่เหมาะสม และการนำผลการดำเนินงานขององค์กรที่เกิดขึ้นเป็นหน้าที่ของผู้จัดการว่าจะนำไปใช้อย่างไรให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการต่อมา เช่น ถ้าผลการดำเนินงานในแผนกบริการแจ้งว่ามีการร้องเรียนเกิดขึ้นจากความไม่พอใจพนักงานบริการเป็นจำนวนมาก ถือว่าสัญญาณเตือนภัยเกิดขึ้นแล้ว ผู้จัดการต้องกำหนดกลยุทธ์เพื่อดำเนินการแก้ไข หรือผลการดำเนินงานออกมาแล้วเป็นเลิศ ผู้จัดการต้องพิจารณาเรื่องการให้รางวัลพนักงานตามความเหมาะสม เป็นต้น ดังนั้นผู้จัดการยุค 4.0 ต้องออกแบบการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กรได้ และสามารถนำผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นไปใช้บริหารงานต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52817-1-บทความการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร.html">“บทความการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร”</a>)</span></li> </ul> </blockquote> </div> [image] => o_1c39p6p401r321t1n12epv29os6b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-08 17:28:00 [end_date] => 2017-06-08 17:28:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-01-22 15:02:23 [comment_status] => 0 [viewed] => 30483 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) )
สมัครคอร์ส
อ่านต่อสมัครคอร์ส
อ่านต่อสมัครคอร์ส
อ่านต่อสมัครคอร์ส
อ่านต่อ