Array
(
    [0] => Array
        (
            [article_id] => 47723
            [category_id] => 3139
            [title] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%8A.jpg" width="1110" height="476" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ&nbsp;<span>เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote>
</div>
            [image] => o_1ehc09dti11nu19v41isrvbr2mmb.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-04 14:28:59
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 8168
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [1] => Array
        (
            [article_id] => 47729
            [category_id] => 3139
            [title] => การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน</span><br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/8)%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ&nbsp;<span>เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote>
</div>
            [image] => o_1c39p93pec5q1mrp11ms1hc91t67b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-04 14:40:48
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 7562
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [2] => Array
        (
            [article_id] => 47722
            [category_id] => 3139
            [title] => ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/1)%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ&nbsp;<span>เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote>
</div>
            [image] => o_1c39p5kqg1s7mfpnj0a1p10fd1b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-04 14:42:14
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 14686
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [3] => Array
        (
            [article_id] => 47726
            [category_id] => 3139
            [title] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (1)
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (1)
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (ตอนที่ 1)<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/5)%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อพูดถึงการวิเคราะห์คนทั่วไปอาจนึกถึงตัวเลข ค่าสถิติต่าง ๆ หรืออาจเป็นส่วนผสมทางเคมี ดูแล้วน่าจะเป็นเรื่องไกลตัวและน่าปวดหัว ในชีวิตของเราถ้าไม่ได้มีอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้ความคิดเพื่อวิเคราะห์ เราคงไม่ต้องมาเจอเรื่องดังกล่าวหรอก ซึ่งไม่ผิดนัก แต่คงไม่ถูกต้องและครอบคลุมทั้งหมด เนื่องจากทุกคนเคยผ่านการวิเคราะห์มาแล้ว อาจวิเคราะห์มากบ้างน้อยบ้าง ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ และอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม คุณเชื่อหรือไม่?</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ถ้าคุณชอบซื้อหวยใต้ดินมาก ผมเชื่อว่าคุณต้องมีแนวทางในการซื้อตัวเลข (55555 แต่ผิดกฎหมายนะครับ) ถ้าคุณต้องเดินทางไปเชียงใหม่ด้วยเงินที่จำกัด คุณต้องวางแผนก่อนการเดินทางว่าจะโดยสารพาหนะอะไรบ้าง พร้อมทั้งคำนวณรายจ่ายด้านอื่น ๆ ด้วย หรือถ้าคุณต้องเลือกคู่ครอง คุณคงไม่ใช้วิธีจับสลากแน่นอน เห็นด้วยหรือไม่ครับ คุณต้องใช้ความคิดพิจารณาปัจจัยหลาย ๆ ด้านประกอบกัน ทั้งหมดที่กล่าวมาเรียกว่าการใช้ &ldquo;<span>การคิดเชิงวิเคราะห์</span>&rdquo; <span>ดังนั้นการคิดเชิงวิเคราะห์มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ตามสถานการณ์ที่ตนองประสบอยู่ ซึ่งในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการจำเป็นต้องเลือก </span>&ldquo;<span>เครื่องมือ</span>&rdquo; (Tools) <span>ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง แต่ก่อนที่จะกล่าวถึงเครื่องมือช่วยวิเคราะห์ เรามาดูกันก่อนว่าสมองทำหน้าที่อย่างไรที่เกี่ยวข้องกับการคิดวิเคราะห์</span></span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการจำเป็นต้องเลือกเครื่องมือ (Tools) <span>ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง</span>&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หน้าที่ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์</span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) สมองทำหน้าที่ตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ</strong> โดยธรรมชาติแล้วเมื่อมีข้อมูลเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 <span>สมองจะทำการตีความข้อมูลที่ได้รับโดยนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูล ความทรงจำ หรือประสบการณ์ในอดีตที่เก็บสะสมไว้ จากนั้นสมองจะแยกแยะความเหมือนและความต่างของข้อมูลที่ได้รับ พร้อมทั้งพยายามเชื่อมโยงเหตุผลของเรื่องราวต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น</span><br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) สมองทำหน้าที่หาเหตุผลเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อสืบค้นความจริง</strong> โดยธรรมชาติแล้วความคิดวิเคราะห์จะปรากฏขึ้นเมื่อพบสิ่งที่มีความคลุมเครือหรือสิ่งผิดปกติ สร้างความสงสัย จนไปถึงการตั้งคำถามเพื่อค้นหาสาเหตุของความผิดปกตินั้น ๆ สมองจะทำหน้าที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างสิ่งที่ปรากฏกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่&nbsp; นำไปสู่การประเมินและตัดสินใจแก้ปัญหาต่าง ๆ<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) สมองทำหน้าที่ประเมินคุณค่าสิ่งต่าง ๆ เพื่อการตัดสินใจ&nbsp;</strong>โดยธรรมชาติแล้วสมองคิดวิเคราะห์อย่างอัตโนมัติเมื่อต้องตัดสินใจเลือกอะไรบางอย่าง ซึ่งโดยพื้นฐานก่อนการตัดสินใจ ทุกคนมักจะกำหนดกฎเกณฑ์หรือมาตรฐานเกี่ยวกับเรื่องนั้นอยู่ก่อนแล้ว เพื่อใช้เป็นฐานในการประเมินและตัดสินใจ เหตุผลที่อยู่เบื้องหลังคือ &ldquo;<span>การประเมินคุณค่าที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจเลือกหรือตัดสินใจไม่เลือกนั่นเอง</span>&rdquo;<span> แต่สิ่งที่ต้องระมัดระวังในการประเมินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ คือการมีอคติ </span>(Bias) <span>ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของตนเอง</span></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4)&nbsp;</strong><strong>สมองทำหน้าที่แจกแจงองค์ประกอบเพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมดของเรื่องราว</strong> ตัวอย่างที่เห็นเด่นชัดที่สุดของหน้าที่นี้คือ การสืบสวนของยอดนักสืบโคนัน ความปรารถนาอยากสืบค้นหาคำตอบทำให้เกิดการคิดวิเคราะห์หาองค์ประกอบที่คิดว่า &ldquo;<span>น่าจะเป็นไปได้</span>&rdquo; <span>ด้วยการตั้งคำถามเพื่อเก็บรายละเอียดของเรื่องที่เกิดขึ้นทั้งหมด หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล จัดลำดับความสำคัญของเหตุการณ์ จนนำไปสู่การพบคำตอบที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด</span></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span>ดังนั้นสมองทำหน้าที่คิดเชิงวิเคราะห์ในแต่ละเรื่องจะมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของเรื่องราวที่ต้องการวิเคราะห์ และแต่ละเรื่องราวอาจใช้เครื่องมือ (Tools) ที่แตกต่างกัน แต่ใช้หลักการของการคิดวิเคราะห์เหมือนกันคือ &ldquo;การแยกแยะข้อมูลออกเป็นส่วน ๆ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างข้อมูลนั้น&rdquo;</span></span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;การคิดเชิงวิเคราะห์ คือ ความสามารถในการจำแนกแจกแจงองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 3 ข้อก่อนการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิงวิเคราะห์</span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) รับข้อมูลปัญหามาอย่ารีบด่วนสรุป</strong> หลาย ๆ ครั้งในสังคมไทยชอบใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล และชอบวิจารณ์เหตุการณ์ก่อนได้รับข้อมูลที่ถูกต้องทั้งหมด ดังนั้นเมื่อมีปัญหาเข้ามาอย่ารีบด่วนสรุปเพราะอาจส่งผลให้เรากำหนดวิธีการแก้ปัญหาหรือการรับรู้ที่ผิด ๆ ได้ เช่น ในอดีตมักได้ยินว่ายาสมุนไพรมีสารสเตียรอยด์ เราจึงไม่กล้ารับประทาน ทำให้เสียโอกาสในการรักษา บางคนถึงขั้นปิดกั้นและโจมตีการรักษาด้วยยาสมุนไพรไปเลยก็มี ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริงการรักษาด้วยแพทย์แผนไทยมีประโยชน์อย่างยิ่ง สาเหตุเป็นแค่เพียงคนบางกลุ่มเท่านั้นที่นำสารสเตียรอยด์มาใส่ในยา เพื่อหวังผลให้ขายยาได้ง่าย ๆ<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) เกิดปัญหาขึ้นอย่าด่วนแก้ ต้องมีความชัดเจนต่อปัญหาก่อน&nbsp;</strong>ตัวอย่างที่ผมชอบใช้บ่อย ๆ คือ พนักงานขายไม่สามารถขายสินค้าให้ได้ตามเป้าหมายในหลายไตรมาสติดต่อกัน ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้สามารถทำได้อย่างดี จนผู้จัดการฝ่ายขายมีความไม่พอใจสั่งการให้แก้ไขปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น รับพนักงานขายเพิ่ม, <span>อบรมทักษะการขายให้กับพนักงานเก่า</span>, <span>จัดโปรโมชั่น หรืออัดโฆษณา เป็นต้น สุดท้ายยอดขายไม่กระเตื้องขึ้น ในที่สุดจึงตัดสินใจลงตลาดไปพบลูกค้าเก่าทำให้พบคำตอบว่า จริง ๆ ลูกค้าพอใจในตัวสินค้าอย่างมาก แต่ไม่พอใจในการบริการหลังการขาย โดยให้บริการช้าบ้าง ไม่มาตามนัดบ้าง หรือแม้กระทั่งการพูดจาไม่สุภาพของพนักงานบ้าง ทำให้ลูกค้าบอกต่อสิ่งไม่ดีเหล่านี้ไปเรื่อย ๆ เป็นปัญหาสะสมอย่างเงียบ ๆ ทำให้ผู้จัดการฝ่ายขายไม่ทราบสาเหตุปัญหาแท้จริงอย่างทันท่วงที จึงส่งผลให้การแก้ปัญหาไม่บรรลุผล แม้ว่าจะใช้หลากหลายวิธีการก็ตาม</span></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) ฝึกตั้งคำถามเชิงวิเคราะห์</strong> การคิดเชิงวิเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพต้องรู้จักตั้งคำถาม โดยการตั้งคำถามต้องเกี่ยวข้องกับการจำแนกแจงองค์ประกอบ และการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบนั้น ๆ หรือระหว่างเรื่องที่วิเคราะห์กับเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถใช้แนวคิดคำถามด้วย 5W + 1H (What, Who, When, Where, Why and How) ซึ่งการตั้งคำถามจะทำให้ได้ข้อเท็จจริงใหม่ ความเข้าใจใหม่ หรือมุมมองใหม่ ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการประเมินและตัดสินใจมากขึ้น<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเราต้องใช้การคิดวิเคราะห์อยู่เสมอ ถ้าเราต้องการพัฒนาทักษะด้านนี้ให้ดียิ่งขึ้น มีความจำเป็นต้องพัฒนาความสามารถของสมองในการคิดเชิงวิเคราะห์ ซึ่งในบทความตอนที่ 2 จะกล่าวถึงเครื่องมือ (Tools) ที่ช่วยให้การวิเคราะห์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หรือได้คำตอบที่ถูกต้องนั่นเอง <a href="../../%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-53024-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-2.html">(Click บทความตอนที่ 2)</a></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">(เครดิต: คัดลอกข้อมูลบางส่วนจากหนังสือ &ldquo;การคิดเชิงวิเคราะห์ - ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์&rdquo;)</span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1c39p7pogf75shrhhj1o4gte9b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-04 14:54:38
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 15113
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [4] => Array
        (
            [article_id] => 47727
            [category_id] => 3139
            [title] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (2)
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (2)
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (ตอนที่ 2)<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2.jpg" width="1110" height="476" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การเลือกเครื่องมือแก้ปัญหาขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังวิเคราะห์ปัญหาอะไร ในบทความนี้จะขอนำเครื่องมือใน 7 QC Tools และ 7 New QC Tools มาขยายความว่าเครื่องมือแต่ละชนิดมีวัตถุประสงค์อะไรในการใช้ หรือกล่าวเป็นภาษาง่าย ๆ ว่าเจอปัญหาแบบนี้ควรเลือกเครื่องมือประเภทนี้นั่นเอง</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7 เครื่องมือแก้ปัญหาคุณภาพแบบประยุกต์ (7 QC Tools Practice) </strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet)</strong> <em>&ldquo;แบบฟอร์มที่ออกแบบสำหรับการบันทึกข้อมูล โดยข้อมูลนั้นมีความจำเป็นต้องนำไปใช้ต่อเพื่อตอบวัตถุประสงค์คุณภาพหรือนำไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ&rdquo;</em> เช่น การบันทึกความยาวของหลอดใส่ครีมเพื่อตรวจสอบว่ากระบวนการผลิตมีความผันแปรอย่างไร การเก็บรอยตำหนิของรถยนต์ที่เข้ามาใช้บริการเพื่อป้องกันการเข้าใจผิดของลูกค้า การนับชนิดของข้อบกพร่องที่ปรากฎบนชิ้นงานเพื่อกำหนดวิธีการแก้ปัญหา หรือแบบสอบถามทางการตลาดเพื่อนำไปใช้พัฒนาสินค้า เป็นต้น ดังนั้นแผ่นตรวจสอบจึงมีประโยชน์มากถ้าเราออกแบบอย่างถูกวิธี โดยหลักการออกแบบแผ่นตรวจสอบเป็นดังนี้ </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; A) แผ่นตรวจสอบต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (ตามตัวอย่างข้างต้น)<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; B) การออกแบบต้องเก็บข้อมูลที่ตอบวัตถุประสงค์เท่านั้น อย่าเก็บข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; C) การออกแบบต้องทำให้ผู้บันทึกสามารถบันทึกข้อมูลได้ง่าย สะดวก และเขียนน้อยที่สุด<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; D) การออกแบบต้องทำให้ผู้อ่านสามารถอ่านผลได้รวดเร็ว ไม่เสียเวลาตีความ</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;โดยสรุปแผ่นตรวจสอบ (Check Sheet) เป็นเครื่องมือช่วยเก็บข้อมูลที่มีประโยชน์เพื่อช่วยวิเคราะห์ปัญหาในเบื้องต้น อันเนื่องมาจากผู้แก้ปัญหามีข้อมูลไม่เพียงพอ&rdquo;<br /></span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) แผนภูมิกราฟ (Graph)</strong> <em>&ldquo;แผนภูมิที่ใช้นำเสนอข้อมูลที่มีรายละเอียดมาก โดยนำเสนอในลักษณะกราฟต่าง ๆ เพื่อสื่อความเข้าใจให้ง่ายขึ้น&rdquo;</em> เช่น กราฟแท่งสำหรับเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ 2 ข้อมูลขึ้นไป กราฟวงกลมสำหรับเปรียบเทียบสัดส่วนของข้อมูลแต่ละประเภท หรือกราฟเส้นสำหรับการแสดงแนวโน้มของข้อมูล เป็นต้น โดยแผนภูมิกราฟยังสามารถใช้ร่วมกับแผ่นตรวจสอบได้อีกด้วย ซึ่งเป็นการแปลงข้อมูลที่เก็บบันทึกได้ในแผ่นตรวจสอบมาสู่การนำเสนอด้วยกราฟเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้นนั่นเอง</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) แผนผังพาเรโต (Pareto Diagram)</strong> <em>&ldquo;แผนภูมิกราฟแท่งที่นำเสนอข้อมูลอย่างมีลำดับจากมากไปน้อยในรูปของความถี่หรือปริมาณของสาเหตุหรือประเด็นที่สนใจ เพื่อนำไปสู่การเลือกแก้ปัญหา 20% เพื่อลดปัญหาลง 80%&rdquo;</em> ถ้าพิจารณาจากข้อความข้างต้นอาจกล่าวได้ว่า มีสาเหตุเล็กน้อย (20%) ที่สร้างปัญหาใหญ่ (80%) (หลักการพาเรโต &ndash; 80:20) ดังนั้นคงไม่ต้องบอกนะครับว่าเราควรเลือกแก้ปัญหาอะไรก่อน ใคร ๆ ก็รู้ ในความเป็นจริงผู้ที่คลุกคลีอยู่หน้างานย่อมรู้สาเหตุปัญหาอยู่แล้ว ไม่ต้องใช้หลักการพาเรโตเขาย่อมบอกสาเหตุได้ แต่อย่าลืมนะครับว่าผู้บริหารไม่รู้อย่างที่เขารู้ ดังนั้นการได้มาซึ่งแผนผังพาเรโตคือ การเก็บบันทึกข้อมูลด้วยแผ่นตรวจสอบและนำข้อมูลมาแปลงเป็นกราฟแท่ง โดยกราฟแท่งนี้มีความพิเศษตรงที่มีการกำหนดจำนวนเปอร์เซ็นต์ไว้ด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการกำหนดจำนวนสาเหตุที่ต้องแก้ไขแล้วส่งผลให้ปัญหาลดลง 80%</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 660.667px; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;โดยสรุปหลักการพาเรโต (Pareto Concept) คือ การมุ่งเน้นกำจัดสาเหตุของปัญหา 20% ซึ่งส่งผลให้ปัญหาลดลง 80%&rdquo;<br /></span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4</strong></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>) แผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)</strong>&nbsp;<em>&ldquo;<span>แผนผังที่แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นเหตุและผลของสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุในแต่ละกลุ่มสาเหตุหลัก ซึ่งสาเหตุทั้งหมดนั้นส่งผลต่อปัญหาที่ต้องการแก้ไข (หัวปลา)</span>&rdquo;</em> ถ้าพิจารณาคำว่า &ldquo;ปัญหาที่ต้องการแก้ไข&rdquo; แสดงว่าต้องมีการกำหนดปัญหาให้ชัดเจน เนื่องจากปัญหาในกระบวนการอาจมีหลายระดับ เช่น ในระดับนโยบายกำหนดให้ลดเวลาหยุดของเครื่องจักร (Downtime) โดยแต่ละแผนกมีเครื่องจักรหลายประเภทที่หยุดทำงาน (Breakdown) และแต่ละเครื่องจักรมีสาเหตุอีกหลายสาเหตุที่ทำให้เครื่องจักรหยุดทำงาน ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมาเรียกว่า &ldquo;ปัญหา&rdquo; ได้ทั้งหมดเพียงแต่ว่าอยู่ในระดับชั้นที่ต่างกัน และปัญหาทั้งหมดสามารถนำมากำหนดเป็นปัญหา (หัวปลา) ได้ แต่ในทางปฏิบัติการเลือกปัญหา (หัวปลา) ต้องพิจารณาถึงความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ดังนั้นแผนผังพาเรโตจะเป็นตัวช่วยคัดเลือกปัญหา (หัวปลา) ได้อย่างดี</span></p>
<p style="text-align: center;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2.png" width="438" height="350" /></p>
<p style="text-align: left;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) แผนผังกลุ่มเครือญาติ (Affinity Diagram)&nbsp;</strong><em>&ldquo;<span>แผนผังที่มีการจัดกลุ่มของสาเหตุหลายสาเหตุให้อยู่เป็นหมวดหมู่เดียวกัน (กลุ่มสาเหตุหลัก) โดยในแต่ละสาเหตุภายในกลุ่มย่อมมีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ซึ่งนำไปสู่การวิเคราะห์ด้วยการถามทำไม </span>5 <span>ครั้ง </span>(5 Why Technique) <span>และนำไปสร้างแผนผังสาเหตุและผล</span>&rdquo;</em>&nbsp; เมื่อพิจารณาข้อความดังกล่าวเรานำแผนผังกลุ่มเครือญาติมาประยุกต์ใช้กับแผนผังสาเหตุและผล โดยใช้เทคนิคระดมสมอง (Brainstormimg) มาช่วยค้นหาสาเหตุที่กระจัดกระจายอยู่นั่นเอง และนำมารวมเป็นกลุ่มสาเหตุเดียวกัน ถัดจากนั้นจึงค้นหาความสัมพันธ์ของแต่ละสาเหตุด้วยการถามทำไม 5 ครั้ง เพื่อนำไปสู่การค้นพบรากสาเหตุที่แท้จริงนั่นเอง (Root Cause) </span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;แผนผังกลุ่มเครือญาติ (Affinity Diagram) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการนำช่วยค้นหารากสาเหตุ (Root Cause) ในแผนผังสาเหตุและผล&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p style="text-align: left;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) แผนผังต้นไม้ (Tree Diagram)&nbsp;</strong><em>&ldquo;<span>แผนผังที่ใช้ค้นหารากสาเหตุ </span>(Why &ndash; Why Tree) <span>หรือใช้ค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหา </span>(How &ndash; How Tree)&rdquo;</em>&nbsp;&nbsp;ในบริบทนี้จะนำแผนผังต้นไม้มาใช้ค้นหาแนวทางการแก้ปัญหา ซึ่งหมายถึงการนำรากสาเหตุสุดท้ายในแผนผังสาเหตุและผลมาค้นหาวิธีการแก้ไขนั่นอง การค้นหาต้องใช้การถามอย่างไรไปเรื่อย ๆ (How Technique) เหมือนกับการถามทำไม 5 ครั้ง แต่ในเทคนิคนี้ไม่ได้ระบุเป็น 5 How Technique นะครับ 55555 การถามไปเรื่อย ๆ จะยุติที่ได้งานที่ระบุได้ชัดเจนว่าต้องทำอะไรบ้าง เช่น การปรับปรุงวิธีซ่อมบำรุง (เป้าหมายลดการหยุดของเครื่องจักร) อาจยังระบุงานได้ไม่ชัดเจน ควรถามต่อว่า &ldquo;เราจะปรับปรุงวิธีการซ่อมบำรุงได้อย่างไร&rdquo; คำตอบคือ 1) ประชุมทีมช่างเพื่อค้นหาไอเดีย 2) สรุปและจัดเก็บไอเดียที่ได้ผลเป็นคู่มือ ซึ่งจะเห็นว่าเราได้งานที่ระบุชัดเจนแล้ว และเป็นงานที่ต้องทำร่วมกันทั้งข้อ 1 และ 2 (ทำแบบร่วม ไม่ได้ทำแบบเลือก)</span></p>
<p style="text-align: center;"><img src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89.png" alt="" width="438" height="350" /></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7) เทคนิคประกอบเครื่องมือ 6 <span>ชนิด </span></strong>&nbsp;ผมนำเทคนิคมาเพิ่มในหัวข้อที่ 7 เนื่องจากเทคนิคต่าง ๆ นี้ใช้ประกอบกับเครื่องมือแก้ปัญหาคุณภาพ และไม่จัดอยู่ใน 7 QC Tools &amp; 7 New QC Tools </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; A) การระดมสมอง (Brainstorming) <span>ใช้เมื่อต้องการไอเดียต่าง ๆ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกัน </span><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; B) การถามทำไม 5 <span>ครั้ง </span>(5 Why Technique) <span>ใช้เมื่อต้องการค้นหาสากเหตุที่ระดับลึกลงไป </span><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; C) การถามอย่างไร (How Technique) ใช้เมื่อต้องการค้นหาแนวทางแก้ปัญหาให้มีความหลากหลาย<br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; D) การตรวจสภาพการณ์ที่ไม่ตกหล่นหรือซ้ำซ้อน (MECE Technique) <span>ใช้เพื่อตรวจสอบประเด็นต่าง ๆ ให้ครอบคลุมทั้งหมด </span>(<span>ไม่ตกหล่น) และตรวจสอบประเด็นต่าง ๆ ที่ซ้ำกัน (ซ้ำซ้อน)</span><br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กล่าวโดยสรุปผมนำเครื่องมือแก้ปัญหาคุณภาพทั้ง 6 ชนิด พร้อมเทคนิคประกอบการใช้เครื่องมือ นำมาเชื่อมโยงและเรียงร้อยการใช้งาน เพื่อแสดงให้เห็นว่าการแก้ปัญหาคุณภาพไม่สามารถแก้ได้ด้วยเครื่องมือเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น ต้องอาศัยเครื่องมือและเทคนิคหลายชนิดร่วมกัน ซึ่งนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบนั่นเอง</span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1ehc1csrqa3mqvcooehk1n7ab.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-04 14:49:59
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 9347
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [5] => Array
        (
            [article_id] => 47728
            [category_id] => 3139
            [title] => การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88.jpg" alt="" width="1110" height="476" /><br /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คุณเชื่อหรือไม่ว่าคุณต้องแก้ปัญหาและตัดสินใจทุกวัน? ถ้าคุณไม่เชื่อ ผมจะพิสูจน์ด้วยตัวอย่างง่าย ๆ เช่น ถ้าพรุ่งนี้คุณต้องออกจากบ้าน คุณต้องเลือกชุดแต่งกาย ระหว่างทางถ้าคุณหิว คุณต้องเลือกประเภทอาหารหรือร้านอาหารที่อยากรับประทาน เป็นต้น ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวล้วนเป็นปัญหาระดับพื้นฐานที่คุณสามารถแก้ได้อย่างง่ายดาย ไม่มีความซับซ้อน แม้ว่าบางปัญหาอาจจะยากตอนเริ่มต้น เช่น การเดินทางไปเรียนหนังสือในสถานที่แห่งใหม่ที่ไม่คุ้นเคย แม้ว่าครั้งแรกคุณอาจจะประสบปัญหาบ้างในการเลือกเส้นทางหรือการคำนวณเวลา แต่เมื่อเราสามารถแก้ปัญหาด้วยการค้นหาเส้นทางที่ดีที่สุดได้แล้ว เราพบว่าการไปเรียนครั้งถัดไปไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป เนื่องจากเราสามาถจัดการกับปัญหาได้แล้ว </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ทั้งหมดที่ผมกล่าวมาเรียกว่า &ldquo;ความเคยชินต่อปัญหาจนรู้สึกว่าไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป&rdquo; แต่โดยแท้จริงแล้ว &ldquo;กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจ&rdquo; ดำเนินอยู่ตลอดเวลาเพียงแต่มันเปลี่ยนไปอยู่ในรูปแบบของความเคยชินแทน และที่สำคัญสิ่งที่เจอเป็นปัญหาพื้นฐานที่ไม่มีความซับซ้อน ไม่ต้องการการวิเคราะห์เชิงรูปธรรมมากนัก</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจแบบที่ผมจะกล่าวต่อไปนี้ เน้นจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อน ต้องมีการวิเคราะห์ปัญหา กำหนดเป้าหมายในการแก้ปัญหา สร้างทางเลือกในการแก้ ประเมินแต่ละทางเลือก และเลือกวิธีที่ดีที่สุด เราจะไม่นำหลักการดังกล่าวไปใช้กับการตัดสินใจปัญหาพื้นฐานทั่ว ๆ ไป เช่น การเลือกดื่มกาแฟโดยการวิเคราะห์ปริมาณน้ำตาล คาเฟอีน และประเมินผลกระทบจากการดื่มกาแฟคาปูชิโนเปรียบเทียบกับกาแฟเอสเปรสโซ หรือการเลือกรับประทานโดยการประเมินแคลอรี่ที่เกิดขึ้นระหว่างข้าวผัดกับข้าวขาหมู เป็นต้น ซึ่งถ้าเราต้องวิเคราะห์และประเมินทางเลือกตลอดเวลาในทุกกิจกรรม ผมว่าเราอาจบ้าได้ </span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ดังนั้นการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจจะเน้นแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือปัญหาทางธุรกิจ ที่มีความเสี่ยงเข้ามาเกี่ยวข้องถ้าเราตัดสินใจผิด&rdquo; </span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ในเบื้องต้นก่อนแก้ปัญหา เราควรทำความเข้าใจกับคำว่า &ldquo;ปัญหา&rdquo; ก่อนว่ามันหมายถึงอะไร &ldquo;ปัญหา (Problem) หมายถึง ความเบี่ยงเบนของผลดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง (Actual Performance) จากผลดำเนินงานที่ควรจะเป็น (Should Performance)&rdquo; เช่น รายได้จากการขายต่ำกว่า 2000 ล้านบาท , ของเสียในกระบวนการผลิตเกิน 3%, อัตราการลาออกของพนักงานสูงกว่า 5% เป็นต้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วย่อมสร้างความไม่พอใจกับผู้เกี่ยวข้อง</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">แต่มีปัญหาอีกประเภทหนึ่งเรียกว่าเป็นปัญหาที่สร้างขึ้นมา มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร หรือเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการให้ดีขึ้น เช่น การตั้งเป้าหมายยอดขายให้สูงกว่าเดิมที่ทำได้แล้วอีก 10%, การลดของเสียในกระบวนการผลิตจากเกณฑ์ที่ยอมรับแล้วให้เหลือ 0.5% เป็นต้น ซึ่งแท้จริงแล้วความเบี่ยงเบนถูกสร้างขึ้นจากความคาดหวังให้มีผลการปฏิบัติงานสูงขึ้นกว่าเดิมนั่นเอง</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ขั้นตอนการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ</span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความชัดเจนต่อประเด็นปัญหา (Frame the Issue Properly) </strong> เป็นด่านแรกที่จำเป็นและสำคัญที่สุด เราจะไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือตัดสินใจได้ดี ถ้าเราล้มเหลวกับความชัดเจนต่อประเด็นปัญหา หรืออาจเรียกอีกอย่างว่าไม่สามารถกำหนดกรอบของปัญหาได้เหมาะสม ผมชอบยกตัวอย่างง่าย ๆ สำหรับการเรียนรู้ในหัวข้อนี้คือ การหาของในห้องเก็บของไม่เจอ โดยความชัดเจนต่อประเด็นปัญหาของเรื่องนี้คือ เรากำหนดกรอบของปัญหาว่าเกิดจาก &ldquo;หลอดไฟเสีย&rdquo; หรือ &ldquo;ไม่มีแสงสว่าง&rdquo; ซึ่งทั้งสองประเด็นปัญหาเป็นสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง ๆ ต่อปัญหา</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ถ้าเรามีความชัดเจนและเข้าใจประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น การแก้ปัญหาจะส่งผลกระทบต่อเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ถ้าเรากำหนดกรอบของปัญหาคือหลอดไฟเสีย เป้าหมายของการแก้ปัญหาคือการได้หลอดไฟปกติ (ไม่เสีย) แต่ถ้าเรากำหนดกรอบปัญหาคือไม่มีแสงสว่าง เป้าหมายของการแก้ปัญหาคือการมีแสงสว่าง ซึ่งทั้งสองประเด็นมีวิธีการได้มาแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">จากตัวอย่างข้างต้นเราสามารถเทียบเคียงกับปัญหาทางธุรกิจได้เช่นกัน เช่น ปัญหายอดขายต่ำกว่าเป้า 15% ซึ่งจากการวิเคราะห์มีประเด็นปัญหามากมายหลายสาเหตุ ความชัดเจนต่อประเด็นปัญหาจึงมีความสำคัญมาก และในความเป็นจริงของโลกธุรกิจ การกำหนดกรอบปัญหาอาจไม่ได้มีแค่เพียงประเด็นเดียว และประเด็นปัญหาอาจมีภาวะซ้อนทับกันอยู่</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ดังนั้นความชัดเจนต่อประเด็นปัญหาและเป้าหมายของการแก้ปัญหาจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง&rdquo; </span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การพัฒนาทางเลือกแก้ประเด็นปัญหา (Generate Alternatives)</strong> หลังจากเรากำหนดกรอบของปัญหาได้อย่างเหมาะสมแล้ว เราต้องสร้างหรือพัฒนาทางเลือกแก้ประเด็นปัญหาดังกล่าว ถ้าเรามีเพียงทางเลือกเดียวมีนัยยะว่าการตัดสินใจครั้งนั้นอาจจะไม่มีใช่การตัดสินใจที่แท้จริงและเหมาะสม จึงจำเป็นต้องสร้างทางเลือกหลาย ๆ ทางเพื่อนำแต่ละทางเลือกมาประเมิน เปรียบเทียบซึ่งกันและกันในมิติต่าง ๆ</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การประเมินแต่ละทางเลือก (Evaluate the Alternatives)</strong> เมื่อได้ทางเลือกที่สมเหตุสมผลแล้ว นำแต่ละทางเลือกมาประเมินถึงความเป็นไปได้ (Feasibility), ความเสี่ยง (Risk), ความเกี่ยวข้องหรือผลกระทบกับส่วนอื่น (Implications), เวลา (Time) และอื่น ๆ โดยปกติแล้วมีเครื่องมือประเมินหลายชนิด เช่น การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis), เมทริกจำลำดับความสำคัญ (Prioritization Matrix), แผนผังต้นไม้ (Decision Trees)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Choose the Best Alternative)</strong> เมื่อดำเนินการอย่างเหมาะสมกับแต่ละทางเลือก ขั้นตอนสุดท้ายคือเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ถ้ากระบวนการคิดแก้ปัญหาเกิดจากบุคคลเดียว การตัดสินใจเลือกวิธีที่ดีที่สุดจะเกิดจากมุมมองของคนหนึ่งคน แต่ถ้ากระบวนการเกิดจากทีม (Cross &ndash; Functional Team) ซึ่งเป็นภาวะปกติที่เกิดขึ้นเสมอ มุมมองของการเลือกย่อมมีความแตกต่างกัน ก่อให้เกิดอคติ ความคลุมเครือ และความเห็นที่แตกต่างกันได้ ซึ่งทำให้ยากต่อการตัดสินใจครั้งสุดท้าย ดังนั้นถ้ามีปัญหานี้เกิดขึ้นเราสามารถใช้เครื่องมือมาช่วยแก้ ได้แก่ Catchball, Point &ndash; Counterpoint and Intellectual Watchdog </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเราต้องอยู่กับการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา ทั้งระดับปัญหาที่ไม่ซับซ้อนและไม่ต้องวิเคราะห์เชิงรูปธรรม ไปจนถึงระดับปัญหาทางธุรกิจที่มีความซับซ้อนและต้องการเครื่องมือแก้ปัญหาเชิงรูปธรรม ซึ่งในประเด็นหลังจะช่วยเรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความคิดอย่างมีเหตุผลให้กับทีมตัดสินใจ (The decision Team) ได้เป็นอย่างดี</span></p>
</blockquote>
</div>
<p>&nbsp;</p>
            [image] => o_1ehc1k8mc125hss5145js4r393b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-04 14:52:22
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 7405
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [6] => Array
        (
            [article_id] => 47725
            [category_id] => 3139
            [title] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C.jpg" alt="" width="1110" height="476" /><br /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คุณต้องการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพหรือไม่? ถ้าคำตอบคือ &ldquo;ไม่&rdquo; บทความนี้อาจมีประโยชน์กับคุณเพียงเล็กน้อย แต่ถ้าคำตอบคือ &ldquo;ใช่&rdquo; การบริหารเวลาเชิงประสิทธิภาพต้องการความมุ่งมั่นทางจิตใจของคุณอย่างมากที่สุด แต่ก่อนอื่นคุณควรตั้งคำถามง่าย ๆ กับตนเองก่อนว่า &ldquo;คุณอยากนำเวลาที่มีอยู่หรือที่สร้างเพิ่มขึ้นมาไปใช้กับอะไร&rdquo; คำตอบที่ได้จะสะท้อนการมีหรือไม่มี &ldquo;เป้าหมาย&rdquo; ที่ชัดเจนของคุณ คุณอาจจะเกิดคำถามว่า แล้วมันไปเกี่ยวอะไรกับเป้าหมาย แค่ทำงานให้เสร็จตามกำหนดของหัวหน้า ส่งรายงานตามกำหนดการมอบหมาย แค่นั้นก็น่าจะพอแล้วนะ ถูกต้องครับ!!! ถ้าคุณมีเป้าหมายแค่นั้น แต่ถ้าคุณต้องการมากกว่านั้น เราควรเริ่มต้นกันเลยดีกว่า</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เวลานับว่าเป็นสินทรัพย์อย่างหนึ่งที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา ไม่มีใครหยุดมันได้ มีปริมาณเท่ากันใน 1 รอบสมมติคือ 24 ชั่วโมง คุณมีเวลาจำกัดใน 1 รอบสมมติ คุณใช้เวลาอย่างไรนั้น มันมีผลกระทบต่ออนาคตในทุกมิติของคุณ ดังนั้นการบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กล่าวอย่างรวบรัดมีเพียงแค่ 2 ประเด็นคือ เทคนิคและเป้าหมาย และอีก 1 ความมุ่งมั่นของจิตใจเป็นหลักการเบื้องต้นของการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ เป้าหมายเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกของการบริหารเวลา คุณจะไม่สามารถจัดสรรและบริหารเวลาได้เลย จนกว่าคุณจะตัดสินใจอย่างชัดเจนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายระยะสั้นตั้งแต่หนึ่งวันจนถึงหนึ่งปี หรือเป้าหมายระยะยาวคือมากกว่าหนึ่งปีขึ้นไป และที่สำคัญเป้าหมายระยะสั้นในแต่ละช่วงต้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน และสอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด เพราะทำให้เราทุ่มเทหนึ่งครั้ง ส่งผลกระทบหลายด้าน</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;การบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ &rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 8 ประการ ของการบริหารเวลาเพื่อให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ</span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความชัดเจนต่อเป้าหมาย (Goals, Objectives or Targets)</strong> เป็นสิ่งแรกที่จำเป็นและสำคัญที่สุด คุณไม่สามารถจะขึ้นโดยสารคันไหนได้เลยถ้าคุณไม่รู้ว่าตนเองต้องการจะไปที่ไหน ดังนั้นคุณต้องคิดก่อนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ในชีวิตทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตัวอย่างของผมคือ &ldquo;ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ (Independent Study &ndash; IS) ได้ระดับดีมากและสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจได้ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2&rdquo; ขอให้สังเกตว่าเป้าหมายที่ผมเขียนนั้นมีลักษณะเด่น 5&nbsp; ประการ (STAVE - ตีแตกเป้าหมาย)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;A. มีการระบุอย่างชัดเจน (Specific - ความต้องการของผมชัดเจน)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;B. มีกำหนดระยะเวลา (Time - ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;C. มีโอกาสสำเร็จได้จริง (Attainable - ผมประเมินตนเองว่าทำได้)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;D. มีความสำคัญต่อผู้กำหนดเป้าหมาย (Value &ndash; ต่อยอดธุรกิจของผมได้)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;E. เกิดประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์กับตนเอง (Experience - ผมใช้ประสบการณ์นี้ในอนาคตได้)&nbsp;</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;คุณต้องตีเป้าหมายให้แตก ดังนั้นคุณควรตั้งเป้าหมายด้วยแนวคิด STAVE&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อคุณมีเป้าหมายแล้ว คุณต้องมีวิธีการบรรลุเป้าหมาย และทุกวิธีการต้องใช้เวลา<strong> &ldquo;เป้าหมาย - วิธีการ - เวลา&rdquo;</strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การสร้างความตระหนักรู้การใช้เวลา (Awareness)</strong> คุณจะตระหนักรู้ได้ คุณต้องบันทึกการใช้เวลาของคุณใน 24 ชั่วโมง ประมาณ 1 สัปดาห์ มันจะทำให้คุณรู้ว่าแต่ละวันคุณใช้เวลาไปกับกิจกรรมอะไรบ้าง การทำเช่นนี้ช่วยให้คุณวิเคราะห์ได้ว่า คุณกำลังใช้เวลาไปกับกิจกรรมที่ถูกต้องเพื่อการบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เมื่อคุณเริ่มตระหนักรู้ คุณจะค้นพบประเด็นบางอย่างที่สามารถปรับปรุงการใช้เวลาได้ เช่น ผมดูยูทูปตอนดึกมากเกินไปทำให้ผมตื่นแต่เช้ามืดมาอ่านหนังสือไม่ได้ (การอ่านหนังสือเป็นกิจกรรมที่อยู่ใน To do list ที่ผมวางไว้เพื่อบรรลุเป้าหมาย)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การตัดสินใจเลือก (Decision Making)</strong> เมื่อคุณตั้งเป้าหมาย (เป้าหมาย - วิธีการ - เวลาที่ใช้) และวิเคราะห์การใช้เวลาแล้ว สำหรับผมแล้วการตัดสินใจเลือกคือส่วนที่ยากที่สุด เพราะคุณต้องใช้พลังใจอย่างสูงต่อการไม่ทำหรือลดบางอย่างที่ชอบ และฝืนใจตนเองไปทำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย ถ้าคุณผ่านจุดนี้ไปได้คุณจะมีความภาคภูมิใจตนเองสูงขึ้น และวางแผนแล้วไม่นิ่ง (Plan แล้วนิ่ง)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) ค้นหาความมีประสิทธิภาพของเวลา (Time Efficiency)</strong> การบริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ เวลาแต่ละชั่วโมงของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ตอนไหนที่คุณมีพลังงานสูงสุด ใช้มันจัดการกับงานยาก ๆ แนวคิดนี้จะทำให้คุณได้ผลสำเร็จของงานในระยะเวลาสั้น กุญแจสู่ความมีประสิทธิภาพของเวลาคือ การมีสมาธิจดจ่อกับการใช้พลังงานมากกว่าการจดจ่ออยู่กับกำหนดเวลา&nbsp; และตอนไหนพลังงานคุณน้อย แนะนำว่าให้นำไปใช้กับงานที่ไม่ต้องใช้ความคิดเยอะ แต่ใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายเยอะกว่า แต่อย่าลืมว่าคุณจะมีสมาธิและพลังงานสูง คุณต้องพักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่มากหรือน้อยเกินไป</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) สร้างเวลาเพิ่มเติม</strong> แม้ว่าเวลามีปริมาณจำกัด แต่คุณสามารถทำให้มันเพิ่มได้ คุณควรคิดทบทวนแต่ละกิจกรรมระหว่างวันในหนึ่งสัปดาห์ อาจมีช่องว่างให้คุณเติมกิจกรรมเล็ก ๆ ลงไปได้ เช่น ผมชอบใช้เวลา &frac12; ชั่วโมง อ่านหนังสือขณะรอเรียนที่มหาวิทยาลัย ไม่ใช้หมดไปกับการรับประทานอาหารเพียงอย่างเดียว ดังนั้นในหนึ่งสัปดาห์ผมได้เวลาเพิ่มขึ้นอีก 1.5 ชั่วโมง สำหรับการอ่านหนังสือ ซึ่งกิจกรรมนี้ส่งผลต่อเป้าหมายของผมด้วย&nbsp;</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) อย่าผัดวันประกันพรุ่ง</strong> วันนี้ก่อนเข้าบ้านตั้งใจไปเติมน้ำมันให้เต็มถัง สังเกตเห็นป้ายข้อความว่า พรุ่งนี้น้ำมันลด 2 บาท จึงเปลี่ยนใจไปเติมวันพรุ่งนี้ เมื่อไปเติมเต็มถัง แปลกใจว่าทำไมเด็กปั๊มคิดราคาเท่าเดิม เด็กปั๊มชี้ไปที่ป้ายแล้วบอกว่า &ldquo;พรุ่งนี้ไม่มีวันมาถึง มีแต่วันนี้เท่านั้น&rdquo; การผัดวันประกันพรุ่งคือ นักฆ่าเป้าหมาย ดังนั้นจงบังคับตัวองด้วยการกำหนด Action Plan (แผนลงมือกระทำจริงจัง ไม่เป็นนามธรรม) แล้วลงมือทำทันที</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7) จัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม</strong> ความไร้ระเบียบของสภาพแวดล้อมในการทำงานส่งผลต่อระเบียบความคิดภายในจิตใจ คุณต้องสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้จิตใจมีพลังงานสูง (อ่านต่อบทความเทคนิคการจัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>8) วางแผนพร้อมลุย</strong> การวางแผนคือการตัดสินใจล่วงหน้าในสิ่งที่คุณต้องทำเพื่อบรรลุเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด แสดงว่าเราควรวิเคราะห์ล่วงหน้าว่าจะทำอะไร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร แล้วมันตอบเป้าหมายของคุณ เทคนิคที่ต้องใช้คือ</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;A. TO DO LIST เขียนกิจกรรมสำคัญที่ต้องทำต่อการบรรลุเป้าหมาย </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;B. Priority จัดลำดับงาน โดยเลือกทำงานสำคัญก่อน คุณอาจใช้หลัก ABC หรือแนวคิดสำคัญเร่งด่วนก็ได้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;C. 80 : 20 Rule แนวคิดที่สร้างความคล่องตัวในการทำงานคือ การลงมือทำน้อย แต่ได้รับผลมาก คุณไม่ต้องทำทุกเรื่อง แต่เลือกทำเฉพาะในลิสต์ที่<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ทำให้คุณบรรลุเป้าหมาย จงเรียนรู้การกำหนดสิ่งสำคัญที่ต้องทำ และตัดสิ่งไม่จำเป็นออกให้หมด ควรถามตนเองบ่อย ๆ ว่า &ldquo;อะไรที่เราต้องทำ 20% แล้วให้ผลลัพธ์แก่เรา 80%&rdquo;</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเพียงแค่ลงมือทำตามหลักการ 8 ข้อ คุณสามารถบริหารเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพแน่นอน แต่ทั้งหมดต้องอยู่พื้นฐานของความมีสมาธิ เหตุผลข้อหนึ่งของคนจำนวนมากทำสิ่งต้องการได้จนสำเร็จมีน้อยมาก เพราะว่าพวกเขาไม่เคยควบคุมสมาธิของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง จึงทำให้การใช้สมาธิของเขาไม่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นจงฝึกทำอะไรให้สำเร็จทีละอย่าง และอย่ามีความเข้าใจผิดว่าทำงานหลายอย่างพร้อมกันจะเกิดสมาธิ </span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1c39p7cj2put12lf271vc2cb7b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-12-26 11:56:34
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 6834
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [7] => Array
        (
            [article_id] => 47724
            [category_id] => 3139
            [title] => ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
            [category_name] => In-House Training Thinking Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม<br />(ข้อมูลจำลองของทักษะสำคัญของผู้จัดการยุค 4.0)</strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/In-House%20Training/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/3)%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A1%20(1110x476).jpg" width="1110" height="476" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ยุคนี้เป็นยุคที่มีการระบุต่อท้ายคำด้วย 4.0 เช่น Thailand 4.0, Industry 4.0, HR 4.0 เป็นต้น เพื่อไม่ให้ตกเทรนด์บทความนี้จึงนำเสนอ &ldquo;ทักษะสำคัญของผู้จัดการยุค 4.0&rdquo; หรือ &ldquo;Managerial Skill 4.0&rdquo; แต่ก่อนลงรายละเอียดของแต่ละทักษะ เราควรเข้าใจความหมายผู้บริหารหรือผู้จัดการ ตลอดจนหน้าที่ และบทบาทของผู้บริหาร เพื่อนำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญของผู้บริหารยุค 4.0 ที่ควรมีในศตวรรษที่ 21</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ผู้บริหารคือใคร (Who is Managers?) สามารถให้นิยามตามองค์ประกอบดังนี้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">1) เป็นผู้มีตำแหน่งบริหารและมีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจสั่งการตามสายการบังคับบัญชา (Line Authority)&nbsp;1) เป็นผู้มีตำแหน่งบริหารและมีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจสั่งการตามสายการบังคับบัญชา (Line Authority)<br />2) ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชาที่ปฏิบัติงานและรายงานผลการปฏิบัติงานขึ้นตรงต่อผู้จัดการ (Manager has subordinates)<br />3) เป็นผู้ทำงานให้สำเร็จโดยอาศัยบุคคลอื่น (Get things done through other people)<br />4) เป็นผู้ต้องรับผิดชอบผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาและผลสำเร็จของหน่วยงาน (Responsibility)<br />5) เป็นผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) และทรัพยากรอื่น ๆ (Material Resource)</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ดังนั้นถ้ากล่าวถึงคุณลักษณะที่เด่นชัดของผู้บริหารคือ ต้องมีผู้ใต้บังคับบัญชา&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">จากนิยามของผู้บริหารข้างต้นไม่อาจทำให้เราเข้าใจภาพรวมของการบริหารทั้งหมด จำเป็นต้องศึกษาหน้าที่ของบริหาร (The Functions of Management) ซึ่งผู้บริหารมีหน้าที่หลักดังนี้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) การวางแผน (Planning)</strong> โดยการตั้งเป้าหมายและหาวิธีการเพื่อนำการบรรลุเป้าหมาย (Setting performance objectives and deciding how to achieve them) และที่สำคัญแต่ละเป้าหมายของแต่ละแผนกต้องสอดคล้องและเกี่ยวเนื่องกันกับเป้าหมายขององค์กร ซึ่งต้องใช้การวางแผนเชิงกลยุทธ์ในแต่ละลำดับชั้น (Strategic Planning)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การจัดองค์กร (Organizing)</strong> โดยการเตรียมการด้านงาน คน และทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อทำงานให้สำเร็จ (Arranging task, people and other resources to accomplish the work) ซึ่งทำให้เกิด Organization Structure &amp; Organization Chart ซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง Line Manager กับ HR Manager เพื่อกำหนดประเภทของคนที่ต้องการและช่วงเลาที่ต้องการ</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การนำ (Leading)</strong> โดยการกระตุ้นและสร้างแรงบันดาลใจให้คนทุ่มเททำงานเพื่อบรรลุศักยภาพที่สูงขึ้น (Inspiring people to work hard to achieve high performance) ดังนั้นการแสดงออกด้านภาะความเป็นผู้นำและการจูงใจด้วยทฤษฎีจูงใจต่าง ๆ (Leadership &amp; Motivation Theory) จึงต้องถูกนำมาปรับใช้ผ่านการสื่อสารเชิงประสิทธิภาพ (Effective Communication)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) การควบคุม (Controlling)</strong> เพื่อให้การวางแผนเป็นไปอย่างที่ต้องการ จำเป็นต้องมีการวัดผลการปฏิบัติงานและดำเนินการปรับแก้เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการ (Measuring performance and taking action to ensure desired results) และการควบคุมยังเกี่ยวข้องประเด็นอื่น ๆ ที่ต้องถูกควบคุมโดยเฉพาะสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) เพื่อให้องค์กรดำเนินธุรกิจได้อย่างสะดวกราบรื่น</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;นอกจากหน้าที่ด้าน POLC ของผู้บริหาร ผู้บริหารที่ดีต้องเข้าใจบทบาทที่ต้องแสดงออกในตำแหน่งผู้บริหาร&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยปกติแล้วสามารถแบ่งบทบาทออกได้ 3 กลุ่มดังนี้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่าบุคคล (Interpersonal Roles)</strong> ผู้บริหารควรมีปฏิสัมพันธ์อย่างไรกับคนในองค์กร โดยแสดงออกด้านภาวะผู้นำ (Leadership) ต่อผู้ใต้บังคับบัญชาในหน่วยงานของตนเอง และด้านการประสานงาน (Liaison) เพื่อให้การทำงานภายในองค์กรราบรื่น</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) บทบาทด้านข้อมูลข่าวสาร (Informational Roles)</strong> ผู้บริหารควรจัดการกับข้อมูลอย่างไรเพื่อเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานตนเอง โดยแสดงออกด้านการตรวจสอบ (Monitor) ทั้งภายในและภายนอกองค์กร และด้านการกระจายข่าวสาร (Disseminator) ให้กับสมาชิกภายในองค์กรทราบ</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) บทบาทด้านการตัดสินใจ (Decisional Roles)</strong> ผู้บริหารควรใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจอย่างไร โดยแสดงออกด้านการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ด้วยการค้นหาโอกาสและความได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage), ด้านการแก้ปัญหา (Disturbance Handler) ด้วยการรับผิดชอบต่อการเผชิญหน้ากับปัญหาสำคัญขององค์กร, ด้านการจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocator) และด้านการเจรจาต่อรอง (Negotiator)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อเราทราบว่าผู้บริหารคือใคร มีหน้าที่อะไรบ้างในการบริหาร และต้องแสดงบทบาทอย่างไรในตำแหน่งบริหาร จึงต้องกำหนดทักษะสำคัญของผู้บริหารยุค 4.0 ที่ควรมีในศตวรรษที่ 21 โดยปกติเราแบ่ง 3 กลุ่มความสามารถเพื่อกำหนด 15 ทักษะดังนี้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความสามารถด้านเทคนิค (Technical Competency)</strong> โดยปกติแล้วผู้บริหารระดับต้นต้องมีทักษะด้านนี้มากกว่าผู้บริหารระดับกลางและสูง และต้องมีความรู้และความสามารถในการทำงานมากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อจะได้สอนและควบคุมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคนิคด้านนี้เน้นความสามารถที่จะปฏิบัติงานเฉพาะด้านอันเกี่ยวข้องกับวิธีการหรือกระบวนการใด ๆ เพื่อทำให้กิจกรรมประจำวันเสร็จสมบูรณ์ ดังนั้นทักษะสำคัญของผู้จัดการยุค 4.0 ในด้านเทคนิคมีดังนี้</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะในสายวิชาชีพ (Technical or Professional Expertise)</strong> ผู้ที่จะมาเป็นผู้บริหารได้ต้องมีความสามารถในสายงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนเองก่อน เมื่อมีผู้ใต้บังคับบัญชาจึงสามารถสอนงาน ควบคุมงาน แก้ปัญหา และให้คำปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าทักษะด้านนี้น้อยเกินไป ปัญหาที่ตามคือการควบคุมงาน การแก้ปัญหา และการให้คำปรึกษาจะไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อมุมมองของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อผู้จัดการในด้านภาวะผู้นำ (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52808-1-บทความการบริหารการเติบโตทางอาชีพ.html">&ldquo;บทความการบริหารการเติบโตทางอาชีพ&rdquo;</a>) </span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสอนงานและพัฒนาคน (Develops Others)</strong> ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการสอนงาน พัฒนาคนให้เกิดความรู้ ทักษะ และความสามารถที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน (KSA) ทักษะนี้มีความสำคัญอย่างมากในการช่วยแบ่งเบาภาระความรับผิดชอบของผู้บริหารด้วยการมอบหมายงาน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52809-1-บทความเทคนิคการสอนงานอย่างง่าย-ๆ.html">&ldquo;บทความเทคนิคการสอนงานอย่างง่าย ๆ</a>&rdquo;)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการวางแผนงาน (Planning Skill)</strong> ผู้บริหารต้องมีความสามารถในการวางแผนงานกลยุทธ์เพื่อนำไปสู่การวางแผนงานประจำวัน (Daily planning) ต้องเข้าใจถึงความสำคัญและความเร่งด่วนของงาน เข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างงานพัฒนา งานที่ต้องสำเร็จ งานที่ไม่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายองค์กร เป็นต้น เพื่อการใส่กิจกรรมลงในแผนงานเกิดประสิทธิภาพที่สุด (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-47725-1-การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์.html">&ldquo;บทความการบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการมอบหมายงาน (Delegation Skill)</strong> ถ้าผู้บริหารสอนงานเก่ง การมอบหมายงานจะไม่เป็นเรื่องยาก เนื่องจากวัตถุประสงค์ของการสอนงานคือ การแบ่งเบาภาระงานและการพัฒนาคนในหน่วยงาน ซึ่งการสอนงานจะสร้างความรู้ ทักษะ และความสามารถ (KSA) ให้เกิดแก่ผู้ปฏิบัติงานนั่นเอง (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52810-1-บทความวิเคราะห์ลูกน้องก่อนมอบหมายงาน.html">&ldquo;บทความวิเคราะห์ลูกน้องก่อนมอบหมายงาน&rdquo;</a>)</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></li>
</ul>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> &ldquo;ดังนั้นผู้บริหารจึงจำเป็นต้องรู้ KSA และรู้ภาวะผู้นำภายในตัวของพนักงานแต่ละคน ซึ่งจะช่วยให้การมอบหมายงานเกิดประสิทธิภาพสูงทั้งส่วนบุคคลและทีมงาน&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะดิจิทัล (Digital Skill)</strong> เป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนภาคธุรกิจไปสู่ยุค 4.0 เพราะสภาพแวดล้อมการทำงานในอนาคตจะไม่ใช่การทำงานระหว่างคนกับคนเป็นหลัก แต่รูปแบบการทำงานจะเปลี่ยนไปสู่คนกับอุปกรณ์ที่ควบคุมด้วยระบบดิจิทัล โดยข้อเท็จจริงผู้บริหารที่อายุมากขึ้น ทักษะด้านดิจิทัลจะลดลง และเราไม่สามารถหนีกระแสดิจิทัลได้อย่างแน่นอน ดังนั้นผู้บริหารควรเตรียมการรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการกำหนดกลยุทธ์รองรับที่เหมาะสม (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52811-1-บทความอย่าหนีกระแส-แต่จงเปิดใจเรียนรู้.html">&ldquo;บทความอย่าหนีกระแส แต่จงเปิดใจเรียนรู้&rdquo;</a>)</span></li>
</ul>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) ความสามารถด้านคน (Human Competency) </strong>สามารถเรียกอีกอย่างว่าทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งทักษะนี้มีความสำคัญกับผู้บริหารทุกระดับเท่ากัน ในแต่ละทักษะด้านนี้จะอยู่ในลำดับต้น ๆ ของทักษะที่ผู้บริหารยุค 4.0 ควรมีดังนี้</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการคัดเลือกทีมงาน (Team Selection)</strong> ผู้จัดการมีความรู้ในระบบงาน (System) รู้องค์ประกอบของงานในกระบวนการ จึงรู้ลักษณะงานว่าเป็นอย่างไร? (Job Description) ต้องมีงานที่ต้องปฏิบัติอะไรบ้าง (Tasks) ความรับผิดชอบที่ต้องมีในงาน (Responsibilities) และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติของงาน (Duties) และรู้ว่าต้องการคนประเภทไหน? (Job Specification) มารองรับงาน โดยการวิเคราะห์ทักษะที่ต้องการในงานด้วยการประเมินความรู้ ทักษะ และความสามารถ (KSA) ทั้งหมดที่กล่าวมาผู้จัดการ (Line Manager) ต้องรู้เพื่อการคัดเลือกทีมงานที่มีประสิทธิภาพ โดยการทำงานประสานกับ HR Manager และผลเสียของการคัดเลือกที่ไม่มีประสิทธิภาพคือ เสียเวลา เสียเงิน ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52812-1-บทความการคัดเลือกพนักงานให้ตรงตามความต้องการ.html">&ldquo;บทความการคัดเลือกพนักงานให้ตรงตามความต้องการ&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นผู้อื่น (Inspire and Motivate Others)</strong> ความแตกต่างระหว่างผู้จัดการตามตำแหน่ง (Position Power) กับผู้จัดการแบบผู้นำ (Personal Power) คือแบบแรกเน้นการมีอำนาจเหนือกว่าตามสายบังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาถูกกระตุ้นให้ทำงานด้วยความกลัว ไม่มีการสร้างแรงบันดาลใจหรือไม่มีวิธีการกระตุ้นให้อยากทุ่มเททำงาน ส่วนแบบหลังเน้นการสร้างภาวะความเป็นผู้นำในตัวผู้จัดการ ผู้ใต้บังคับบัญชาถูกกระตุ้นให้ทำงานด้วยความนิยมชมชอบในตัวผู้จัดการ (Referent Power) ซึ่งหนึ่งในความชื่นชมในตัวผู้จัดการคือ ความสามารถสร้างแรงบันดาลใจและการกระตุ้นผู้ใต้บังคับบัญชาให้เกิดพลังงานเชิงบวก เช่น การให้ข้อคิดในการทำงาน การพัฒนาตนเองในการทำงาน หรือการเป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน เป็นต้น (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52813-1-บทความการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นลูกน้องอย่างถูกวิธี.html">&ldquo;บทความการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นลูกน้องอย่างถูกวิธี&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสื่อสารสร้างพลังงานบวก (Powerful Communication)</strong> ผู้จัดการต้องมีความสามารถในการสื่อสารเพื่อสร้างพลังงานบวก ประเด็นนี้มีความแตกต่างจากการสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นผู้อื่น โดยการมองไปที่บทบาทของผู้จัดการในด้านการกระจายข่าวสาร (Disseminator) ให้กับสมาชิกภายในองค์กรหรือหน่วยงานทราบ เช่น ผลจากการประชุมพบว่ามีความจำเป็นต้องปรับลดเงินเดือน 5% ด้วยเหตุผลด้านความอยู่รอดขององค์กร ผู้จัดการที่ดีเมื่อนำข่าวสารนี้มาบอกแก่ลูกน้องในทีมต้องสื่อสารด้วยความถูกต้อง สร้างความเข้าใจให้เกิดขึ้น บอกกล่าวความจำเป็นที่เกิดขึ้น และข้อดีข้อเสียต่าง ๆ เพื่อให้ทีมงานปรับตัวและมีกำลังใจทำงานต่อไป ไม่ใช่สื่อสารว่าองค์กรเอาเปรียบ ไม่ใช่ความผิดของทีมเรา ทีมขายต่างหากที่ไม่มีประสิทธิภาพ ถ้าอย่างนี้ความวุ่นวายจะเพิ่มมากขึ้นแน่นอน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52814-1-บทความสื่อสารด้วยหลักการโค้ช.html">&ldquo;บทความสื่อสารด้วยหลักการโค้ช&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการทำงานเป็นทีม (Teamwork)</strong> ผู้จัดการต้องรับผิดชอบความสำเร็จของงานด้วยการอาศัยลูกน้อง ดังนั้นการสร้างทีมงานให้ทำงานร่วมมือกันอย่างลงตัวจึงจำเป็น ความสามารถและความสำเร็จของทีมตั้งต้นจากตัวผู้จัดการ ผู้จัดการต้องรับผิดชอบการสร้างระบบและผลักดันให้คนปฏิบัติตามระบบ พัฒนาคนให้มีความสามารถเข้ากันได้กับความต้องการของระบบ เป็นผู้นำที่ดีในการบริหารความขัดแย้งที่เกิดจากระบบ และสื่อสารให้ทุกคนทราบถึงความต้องการหรือเป้าหมายที่ต้องการทีม ทั้งหมดเป็นหลักการสำคัญของการทำงานเป็นทีมที่อยู่ในความรับผิดชอบของผู้จัดการ (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52815-1-บทความสร้างทีมประสิทธิภาพด้วยระบบงาน.html">&ldquo;บทความสร้างทีมประสิทธิภาพด้วยระบบงาน&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ (Relation Building)</strong> ผู้จัดการต้องรับผิดชอบความสำเร็จของงานด้วยการอาศัยลูกน้องในทีม แต่อย่าลืมว่าทีมของเราไม่ได้โดดเดี่ยวหรือมีทีมเดียวในองค์กร องค์กรประสบความสำเร็จต้องอาศัยหลายทีมงาน เช่น ทีมผลิต, ทีมขาย, ทีมซ่อมบำรุง เป็นต้น ดังนั้นแต่ละทีมหลักต้องประสานงานร่วมกันให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น ดังนั้นในฐานะเจ้าบ้าน (ผู้จัดการของทีม) ต้องรู้จักสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีม ให้เกิดภาวะหรือบรรยายกาศของการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52816-1-บทความการจัดการกับความขัดแย้งในองค์กร.html">&ldquo;บทความการจัดการกับความขัดแย้งในองค์กร&rdquo;</a>)</span></li>
</ul>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) ความสามารถด้านการคิดและตัดสินใจ (Conceptual and Decision Competency)</strong> ผู้จัดการยุค 4.0 ทุกระดับต้องมีความสามารถด้านนี้ และจะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้นเมื่ออยู่ในสายการบริหารที่สูงขึ้น</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะความคิดเชิงระบบ (System Thinking)</strong> ผู้จัดการต้องสามารถมองเห็นองค์กรในภาพรวม โดยไม่แยกส่วน และเห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ การมองลักษณะนี้เป็นการคำนึงถึงสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ อันนำไปสู่การได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage) และคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อส่วนต่าง ๆ จากการตัดสินใจแก้ปัญหาในประเด็นสำคัญ ซึ่งการใช้ทักษะความคิดเชิงระบบให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ผู้จัดการต้องรู้จักเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการคิดต่าง ๆ ด้วย (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-47722-1-ความคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาและตัดสินใจ.html">&ldquo;บทความความคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาและตัดสินใจ&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ทักษะด้านความคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)</strong> มีคำกล่าวว่า &ldquo;รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง&rdquo; อาจเรียกได้ว่าเป็นกลยุทธ์สำรวจตนเองและคู่แข่ง โดยมีเครื่องมือสนับสนุนคือ SWOT Analysis ผู้จัดการยุค 4.0 ต้องมีทักษะด้านนี้ค่อนข้างสูง เนื่องจากเราไม่ได้อยู่ในยุคที่ไร้คู่แข่งหรือเป็นผู้ผลิตแต่เพียงผู้เดียว (Monopoly) ซึ่งผลิตอะไรก็ขายได้ แต่เราอยู่ในยุคที่องค์กรต้องแข่งขันทางด้านต้นทุน สินค้าต้องมีคุณภาพ การมีนวัตกรรมใหม่ การเงินที่มั่นคง บุคลากรต้องมีความสามารถ และอื่น ๆ ซึ่งทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากรอันมีจำกัดในองค์กร นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรในด้านต่าง ๆ เช่น กำไร (เป้าหมายสูงสุด), ภาพลักษณ์ต่อความรับผิดชอบต่อชุมชนและสภาพแวดล้อม, การตอบแทนสังคม เป็นต้น (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-47723-1-ความคิดเชิงกลยุทธ์กับการบริหารงาน.html">&ldquo;บทความความคิดเชิงกลยุทธ์กับการบริหารงาน&rdquo;</a>)</span></li>
</ul>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ความคิดกลยุทธ์จะวิเคราะห์ว่าทำไมควรทำ และควรทำอะไร ที่ไหน อย่างไร บนทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<ul>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><strong>ทักษะการแก้ปัญหาและตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making)</strong> ในแต่ละส่วนของกระบวนการก่อเกิดระบบ แต่ละส่วนที่ปฏิบัติงานย่อมมีปัญหาเกิดขึ้นได้ ผู้จัดการต้องมีทักษะการแก้ปัญหา และก่อนการแก้ปัญหาต้องเข้าใจและมีความชัดเจนต่อปัญหาที่เกิดขึ้น (Frame the Issue Properly) ซึ่งเป็นประเด็นที่สำคัญที่สุด เพราะมีผลสืบเนื่องต่อไปถึงการพัฒนาทางเลือกแก้ปัญหา ส่วนการตัดสินใจเกิดขึ้นหลังจากได้ผ่านการประเมินแต่ละทางเลือก แล้วจึงทำการเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-46761-1-การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ.html">&ldquo;บทความการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><strong>ทักษะการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management)</strong> การประเมินผู้ใต้บังคับบัญชาที่ขาดหลักวิชาการที่ถูกต้องมีผลเสียหลายด้าน เช่น การตัดสินใจขึ้นเงินเดือนผิด, ขาดแผนปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานทั้ง ๆ ที่ควรจะมี, การจัดการแก้ปัญหาพนักงานไม่ตรงประเด็น เป็นต้น ผลที่ตามมาอาจเสียพนักงานที่มีความสามารถไปโดยไม่ตั้งใจ ดังนั้นผู้จัดการยุค 4.0 ต้องมีความรู้ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) เพื่อนำผลจากการประเมินนั้นมาบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ให้เกิดประสิทธิภาพใน 3 ประเด็นหลักคือ 1) การตัดสินใจทางการบริหารด้านเงินเดือนและการเลื่อนตำแหน่ง 2) การพัฒนาแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 3) การจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวพนักงาน (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-46783-1-การประเมินผลการปฏิบัติงาน.html">&ldquo;บทความการประเมินผลการปฏิบัติงาน&rdquo;</a>)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><strong>ทักษะการวัดผลปฏิบัติงานองค์กร (Performance Measurement)</strong> ผู้จัดการต้องรู้สถานะองค์กรตามความเป็นจริง โดยการทราบผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นด้วยการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร ซึ่งการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กรที่มีประสิทธิภาพต้องเกิดจากการออกแบบที่เหมาะสม และการนำผลการดำเนินงานขององค์กรที่เกิดขึ้นเป็นหน้าที่ของผู้จัดการว่าจะนำไปใช้อย่างไรให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการต่อมา เช่น ถ้าผลการดำเนินงานในแผนกบริการแจ้งว่ามีการร้องเรียนเกิดขึ้นจากความไม่พอใจพนักงานบริการเป็นจำนวนมาก ถือว่าสัญญาณเตือนภัยเกิดขึ้นแล้ว ผู้จัดการต้องกำหนดกลยุทธ์เพื่อดำเนินการแก้ไข หรือผลการดำเนินงานออกมาแล้วเป็นเลิศ ผู้จัดการต้องพิจารณาเรื่องการให้รางวัลพนักงานตามความเหมาะสม เป็นต้น ดังนั้นผู้จัดการยุค 4.0 ต้องออกแบบการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กรได้ และสามารถนำผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นไปใช้บริหารงานต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อ่านต่อ...<a href="ดูบทความ-52817-1-บทความการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร.html">&ldquo;บทความการวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร&rdquo;</a>)</span></li>
</ul>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1c39p6p401r321t1n12epv29os6b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [end_date] => 2017-06-08 17:28:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-01-22 15:02:23
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 29761
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

)

BANANA COURSES

แสดงหลักสูตร In-House Training ทั้งหมด

  • โพสต์เมื่อ: 04 กันยายน 2563

การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)

การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กันยายน 2563

การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน

การคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำงาน

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กันยายน 2563

ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร

ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กันยายน 2563

ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (1)

ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (1)

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กันยายน 2563

ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (2)

ความคิดเชิงวิเคราะห์กับเครื่องมือแก้ปัญหา (2)

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กันยายน 2563

การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ

การคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 26 ธันวาคม 2561

การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์

การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 22 มกราคม 2561

ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม

ความคิดเชิงกลยุทธ์และแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
Engine by shopup.com