Array ( [0] => Array ( [article_id] => 52754 [category_id] => 3152 [title] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์ [category_name] => Articles [category_description] => [category_image] => [description] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์ [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C.jpg" width="818" height="350" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คุณต้องการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพหรือไม่? ถ้าคำตอบคือ “ไม่” บทความนี้อาจมีประโยชน์กับคุณเพียงเล็กน้อย แต่ถ้าคำตอบคือ “ใช่” การบริหารเวลาเชิงประสิทธิภาพต้องการความมุ่งมั่นทางจิตใจของคุณอย่างมากที่สุด แต่ก่อนอื่นคุณควรตั้งคำถามง่าย ๆ กับตนเองก่อนว่า “คุณอยากนำเวลาที่มีอยู่หรือที่สร้างเพิ่มขึ้นมาไปใช้กับอะไร” คำตอบที่ได้จะสะท้อนการมีหรือไม่มี “เป้าหมาย” ที่ชัดเจนของคุณ คุณอาจจะเกิดคำถามว่า แล้วมันไปเกี่ยวอะไรกับเป้าหมาย แค่ทำงานให้เสร็จตามกำหนดของหัวหน้า ส่งรายงานตามกำหนดการมอบหมาย แค่นั้นก็น่าจะพอแล้วนะ ถูกต้องครับ!!! ถ้าคุณมีเป้าหมายแค่นั้น แต่ถ้าคุณต้องการมากกว่านั้น เราควรเริ่มต้นกันเลยดีกว่า</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เวลานับว่าเป็นสินทรัพย์อย่างหนึ่งที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา ไม่มีใครหยุดมันได้ มีปริมาณเท่ากันใน 1 รอบสมมติคือ 24 ชั่วโมง คุณมีเวลาจำกัดใน 1 รอบสมมติ คุณใช้เวลาอย่างไรนั้น มันมีผลกระทบต่ออนาคตในทุกมิติของคุณ ดังนั้นการบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กล่าวอย่างรวบรัดมีเพียงแค่ 2 ประเด็นคือ เทคนิคและเป้าหมาย และอีก 1 ความมุ่งมั่นของจิตใจเป็นหลักการเบื้องต้นของการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ เป้าหมายเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกของการบริหารเวลา คุณจะไม่สามารถจัดสรรและบริหารเวลาได้เลย จนกว่าคุณจะตัดสินใจอย่างชัดเจนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายระยะสั้นตั้งแต่หนึ่งวันจนถึงหนึ่งปี หรือเป้าหมายระยะยาวคือมากกว่าหนึ่งปีขึ้นไป และที่สำคัญเป้าหมายระยะสั้นในแต่ละช่วงต้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน และสอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด เพราะทำให้เราทุ่มเทหนึ่งครั้ง ส่งผลกระทบหลายด้าน</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “การบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 8 ประการ ของการบริหารเวลาเพื่อให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ</span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความชัดเจนต่อเป้าหมาย (Goals, Objectives or Targets)</strong> เป็นสิ่งแรกที่จำเป็นและสำคัญที่สุด คุณไม่สามารถจะขึ้นโดยสารคันไหนได้เลยถ้าคุณไม่รู้ว่าตนเองต้องการจะไปที่ไหน ดังนั้นคุณต้องคิดก่อนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ในชีวิตทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตัวอย่างของผมคือ “ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ (Independent Study – IS) ได้ระดับดีมากและสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจได้ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2” ขอให้สังเกตว่าเป้าหมายที่ผมเขียนนั้นมีลักษณะเด่น 5 ประการ (STAVE - ตีแตกเป้าหมาย)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> A. มีการระบุอย่างชัดเจน (Specific - ความต้องการของผมชัดเจน)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> B. มีกำหนดระยะเวลา (Time - ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> C. มีโอกาสสำเร็จได้จริง (Attainable - ผมประเมินตนเองว่าทำได้)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> D. มีความสำคัญต่อผู้กำหนดเป้าหมาย (Value – ต่อยอดธุรกิจของผมได้)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> E. เกิดประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์กับตนเอง (Experience - ผมใช้ประสบการณ์นี้ในอนาคตได้) </span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “คุณต้องตีเป้าหมายให้แตก ดังนั้นคุณควรตั้งเป้าหมายด้วยแนวคิด STAVE”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อคุณมีเป้าหมายแล้ว คุณต้องมีวิธีการบรรลุเป้าหมาย และทุกวิธีการต้องใช้เวลา<strong> “เป้าหมาย - วิธีการ - เวลา”</strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การสร้างความตระหนักรู้การใช้เวลา (Awareness)</strong> คุณจะตระหนักรู้ได้ คุณต้องบันทึกการใช้เวลาของคุณใน 24 ชั่วโมง ประมาณ 1 สัปดาห์ มันจะทำให้คุณรู้ว่าแต่ละวันคุณใช้เวลาไปกับกิจกรรมอะไรบ้าง การทำเช่นนี้ช่วยให้คุณวิเคราะห์ได้ว่า คุณกำลังใช้เวลาไปกับกิจกรรมที่ถูกต้องเพื่อการบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เมื่อคุณเริ่มตระหนักรู้ คุณจะค้นพบประเด็นบางอย่างที่สามารถปรับปรุงการใช้เวลาได้ เช่น ผมดูยูทูปตอนดึกมากเกินไปทำให้ผมตื่นแต่เช้ามืดมาอ่านหนังสือไม่ได้ (การอ่านหนังสือเป็นกิจกรรมที่อยู่ใน To do list ที่ผมวางไว้เพื่อบรรลุเป้าหมาย)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การตัดสินใจเลือก (Decision Making)</strong> เมื่อคุณตั้งเป้าหมาย (เป้าหมาย - วิธีการ - เวลาที่ใช้) และวิเคราะห์การใช้เวลาแล้ว สำหรับผมแล้วการตัดสินใจเลือกคือส่วนที่ยากที่สุด เพราะคุณต้องใช้พลังใจอย่างสูงต่อการไม่ทำหรือลดบางอย่างที่ชอบ และฝืนใจตนเองไปทำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย ถ้าคุณผ่านจุดนี้ไปได้คุณจะมีความภาคภูมิใจตนเองสูงขึ้น และวางแผนแล้วไม่นิ่ง (Plan แล้วนิ่ง)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) ค้นหาความมีประสิทธิภาพของเวลา (Time Efficiency)</strong> การบริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ เวลาแต่ละชั่วโมงของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ตอนไหนที่คุณมีพลังงานสูงสุด ใช้มันจัดการกับงานยาก ๆ แนวคิดนี้จะทำให้คุณได้ผลสำเร็จของงานในระยะเวลาสั้น กุญแจสู่ความมีประสิทธิภาพของเวลาคือ การมีสมาธิจดจ่อกับการใช้พลังงานมากกว่าการจดจ่ออยู่กับกำหนดเวลา และตอนไหนพลังงานคุณน้อย แนะนำว่าให้นำไปใช้กับงานที่ไม่ต้องใช้ความคิดเยอะ แต่ใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายเยอะกว่า แต่อย่าลืมว่าคุณจะมีสมาธิและพลังงานสูง คุณต้องพักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่มากหรือน้อยเกินไป</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) สร้างเวลาเพิ่มเติม</strong> แม้ว่าเวลามีปริมาณจำกัด แต่คุณสามารถทำให้มันเพิ่มได้ คุณควรคิดทบทวนแต่ละกิจกรรมระหว่างวันในหนึ่งสัปดาห์ อาจมีช่องว่างให้คุณเติมกิจกรรมเล็ก ๆ ลงไปได้ เช่น ผมชอบใช้เวลา ½ ชั่วโมง อ่านหนังสือขณะรอเรียนที่มหาวิทยาลัย ไม่ใช้หมดไปกับการรับประทานอาหารเพียงอย่างเดียว ดังนั้นในหนึ่งสัปดาห์ผมได้เวลาเพิ่มขึ้นอีก 1.5 ชั่วโมง สำหรับการอ่านหนังสือ ซึ่งกิจกรรมนี้ส่งผลต่อเป้าหมายของผมด้วย </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) อย่าผัดวันประกันพรุ่ง</strong> วันนี้ก่อนเข้าบ้านตั้งใจไปเติมน้ำมันให้เต็มถัง สังเกตเห็นป้ายข้อความว่า พรุ่งนี้น้ำมันลด 2 บาท จึงเปลี่ยนใจไปเติมวันพรุ่งนี้ เมื่อไปเติมเต็มถัง แปลกใจว่าทำไมเด็กปั๊มคิดราคาเท่าเดิม เด็กปั๊มชี้ไปที่ป้ายแล้วบอกว่า “พรุ่งนี้ไม่มีวันมาถึง มีแต่วันนี้เท่านั้น” การผัดวันประกันพรุ่งคือ นักฆ่าเป้าหมาย ดังนั้นจงบังคับตัวองด้วยการกำหนด Action Plan (แผนลงมือกระทำจริงจัง ไม่เป็นนามธรรม) แล้วลงมือทำทันที</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7) จัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม</strong> ความไร้ระเบียบของสภาพแวดล้อมในการทำงานส่งผลต่อระเบียบความคิดภายในจิตใจ คุณต้องสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้จิตใจมีพลังงานสูง (อ่านต่อบทความเทคนิคการจัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>8) วางแผนพร้อมลุย</strong> การวางแผนคือการตัดสินใจล่วงหน้าในสิ่งที่คุณต้องทำเพื่อบรรลุเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด แสดงว่าเราควรวิเคราะห์ล่วงหน้าว่าจะทำอะไร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร แล้วมันตอบเป้าหมายของคุณ เทคนิคที่ต้องใช้คือ</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> A. TO DO LIST เขียนกิจกรรมสำคัญที่ต้องทำต่อการบรรลุเป้าหมาย </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> B. Priority จัดลำดับงาน โดยเลือกทำงานสำคัญก่อน คุณอาจใช้หลัก ABC หรือแนวคิดสำคัญเร่งด่วนก็ได้</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> C. 80 : 20 Rule แนวคิดที่สร้างความคล่องตัวในการทำงานคือ การลงมือทำน้อย แต่ได้รับผลมาก คุณไม่ต้องทำทุกเรื่อง แต่เลือกทำเฉพาะในลิสต์ที่<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ทำให้คุณบรรลุเป้าหมาย จงเรียนรู้การกำหนดสิ่งสำคัญที่ต้องทำ และตัดสิ่งไม่จำเป็นออกให้หมด ควรถามตนเองบ่อย ๆ ว่า “อะไรที่เราต้องทำ 20% แล้วให้ผลลัพธ์แก่เรา 80%”</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเพียงแค่ลงมือทำตามหลักการ 8 ข้อ คุณสามารถบริหารเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพแน่นอน แต่ทั้งหมดต้องอยู่พื้นฐานของความมีสมาธิ เหตุผลข้อหนึ่งของคนจำนวนมากทำสิ่งต้องการได้จนสำเร็จมีน้อยมาก เพราะว่าพวกเขาไม่เคยควบคุมสมาธิของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง จึงทำให้การใช้สมาธิของเขาไม่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นจงฝึกทำอะไรให้สำเร็จทีละอย่าง และอย่ามีความเข้าใจผิดว่าทำงานหลายอย่างพร้อมกันจะเกิดสมาธิ </span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1c4en7fmd18ft12an1eoo13b0pdjb.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-22 12:48:00 [end_date] => 2017-06-22 12:48:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-10-16 18:58:48 [comment_status] => 0 [viewed] => 18345 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [1] => Array ( [article_id] => 52757 [category_id] => 3152 [title] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) [category_name] => Articles [category_description] => [category_image] => [description] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%8A.jpg" width="818" height="350" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ <span>เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote> </div> <p> </p> [image] => o_1et99fb3k1g2eb671p30noo1rmfb.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-22 12:48:00 [end_date] => 2017-06-22 12:48:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2021-02-04 12:23:40 [comment_status] => 0 [viewed] => 13617 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [2] => Array ( [article_id] => 52755 [category_id] => 3152 [title] => ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process) [category_name] => Articles [category_description] => [category_image] => [description] => ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process) [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process)<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%8A.jpg" width="818" height="350" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ผู้นำคือใครบางคนที่มีคนยอมเดินตาม ปฏิบัติตาม หรือเชื่อในความคิดความอ่านอย่างในตัวผู้นำอย่างเต็มใจ ดังนั้นใครมีตำแหน่งหัวหน้า แต่ไม่มีลูกน้อง จึงยังไม่ใช่ผู้นำ เพราะผู้นำต้องมีคนเดินตาม หรือถ้าหัวหน้ามีลูกน้อง และลูกน้องทำงานเพราะตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย แต่ใจไม่เชื่อถือหรือศรัทธาในตัวหัวหน้า กล่าวได้ว่าหัวหน้าคนนั้นยังไม่ใช่หัวหน้าแบบ “ผู้นำ” เป็นเพียงหัวหน้าแบบ “ตำแหน่ง”</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การเป็นผู้นำเป็นเรื่องสลับซับซ้อนและมีองค์ประกอบมากมาย มีพฤติกรรมหรือการกระทำที่ผู้นำต้องแสดงออก โดยสามารถยกเป็นตัวอย่าง อาทิเช่น การมีวิสัยทัศน์ การมีเป้าหมาย การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความยุติธรรม การแก้ปัญหา และอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งความสามารถส่วนใหญ่ล้วนมองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้ ดังนั้นการพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership Development) จึงควรมีระบบและกำหนดทิศทางให้ชัดเจน</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ในการบรรยายหลักสูตร “การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำอย่างเป็นระบบ” (Systematic Leadership Development) ผมมักจะสอดแทรกกฎของผู้นำ 3 เรื่อง ดังนี้ 1) กฎของการสะสม (The Law of Process) 2) กฎของการฝึกฝน (The Law of Practice) และ 3) กฎของการซึมซับ (The Law of Absorption)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กฎของการสะสม กล่าวว่า “การเป็นผู้นำต้องสร้างทุกวัน ไม่ใช่สร้างแค่วันเดียวเลิก แต่ต้องใช้เวลาทั้งชีวิต” โดยนัยยะคือการสะสมความเป็นผู้นำต้องทำอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าบางคนจะเกิดมาพร้อมกับพรสวรรค์ที่เหนือกว่าคนอื่น แต่ความสามารถในการเป็นผู้นำ ต้องอาศัยการสะสมทักษะหลายอย่าง และทักษะเกือบทุกอย่างสามารถเรียนรู้และพัฒนาให้ดีขึ้นได้ ดังนั้นผู้นำต้องมีความสามารถและแรงจูงใจในการเรียนรู้ (Ability and Motivation to Learn) เพื่อใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงทักษะของตนเองให้ดีขึ้น แต่กระบวนการนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงแค่ชั่วข้ามคืน ต้องลงมือทำทุกวันอย่างต่อเนื่อง </span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “กฎของการสะสม กล่าวว่า “การเป็นผู้นำต้องสร้างทุกวัน ไม่ใช่สร้างแค่วันเดียวเลิก แต่ต้องใช้เวลาทั้งชีวิต”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">“กฎของการสะสม” ให้ลองนึกถึงการสร้างบารมีของพระพุทธเจ้า ต้องสะสมกันหลายภาพหลายชาติจนกว่าบารมีจะเต็ม แต่การสะสมภาวะความเป็นผู้นำไม่ต้องทำกันยาวนานขนาดนั้น ไม่อย่างนั้นจะท้อแท้หมดกำลังใจกันไปก่อน การเป็นผู้นำก็เหมือนกับการลงทุน ต้องสะสมและสร้างค่าให้กับตนเอง ลงทุนพัฒนาตนเองให้เก่งขึ้นทุกวัน (เปรียบเสมือนซื้อหุ้นพื้นฐานดี ซื้อสะสมไปเรื่อยๆ) และนำสิ่งที่ได้รับการพัฒนาแล้ว นำไปแก้ปัญหาในงาน ทีมงาน และองค์กร เพื่อให้ตนเองมีความน่าเชื่อถือหรือเกิดความศรัทธาในสายตาลูกน้องและเพื่อนร่วมงาน ถ้าพูดกันในเชิงภาวะผู้นำแบบไทยๆ คือจะเป็นผู้นำคน ต้องหมั่นสร้างบารมีอย่างสม่ำเสมอ </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">แต่เดี๋ยวก่อนแล้วครับ จะให้สะสมและสร้างค่าอะไรจึงจะเป็นผู้นำที่ดีได้? ดังนี้ก่อนสะสมอะไร เราควรมีหลักการพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ 4 ระยะ</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 1) ยอมรับ</strong> - ก่อนจะเป็นผู้นำที่ดี คุณต้องเปิดใจยอมรับก่อนว่า คุณยังไม่รู้อะไรอีกหลายเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาภาวะผู้นำ ยอมทำตัวเป็นเด็กเลี้ยงควาย ถ้าคิดว่าตนเองเก่งแล้ว ย่อมพัฒนาได้ยาก <br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 2) สำรวจ</strong> – ให้สำรวจตนเองว่าควรเรียนรู้อะไรบ้าง ควรปรับพฤติกรรมอะไรบ้าง ที่ทำให้ภาวะผู้นำเราดีขึ้นในสายตาลูกน้อง ดังคำกล่าวว่า “การรู้ตัวว่าคุณไม่รู้อะไรอีกตั้งเยอะ เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่การเรียนรู้”<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 3) เริ่มพัฒนา</strong> – จงเริ่มพัฒนาความเป็นผู้นำจากสิ่งที่คุณสำรวจตั้งแต่วันนี้ แล้วคุณจะเห็นผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์ด้วยตนเอง ให้คิดเสมอว่า “จะเป็นผู้นำวันพรุ่งนี้ ต้องเริ่มวันนี้ และต้องเตรียมพร้อมตลอดเวลา”<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 4) ทำจนกลายเป็นนิสัย</strong> – เคล็ดลับไม่มี ให้ฝึกฝนเรื่องที่คุณอยากพัฒนาจนกลายเป็นนิสัยของคุณ จนกลายเป็นความเคยชิน ผมขอย้ำอีกครั้งว่า!!! ไม่มีเคล็ดลับ การฝึกฝนทำให้คนเป็นเลิศ และเราจะเรียนรู้เรื่องนี้อีกครั้งในหัวข้อ กฏของการฝึกฝน (The Law of Practice)</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ 4 ระยะ ดังนี้ 1) ยอมรับ, 2) สำรวจ, 3) เริ่มพัฒนา และ 4) ทำจนกลายเป็นนิสัย”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img style="display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;" src="../../sites/10292/files/u/articles/backcountry-skiiing-2289970_1920.jpg" alt="" width="650" /></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อคุณตั้งเป้าหมายในการสะสมทักษะและประสบการณ์ต่าง ๆ แล้ว ตอนนี้ต้องใช้ความมีวินัย (Discipline) ความพยายาม (Effort) และการจัดการอารมณ์ตนเองเป็นอย่างมาก (EQ) เพื่อให้เป้าหมายประสบความสำเร็จ โดยธรรมชาติคุณมีแนวโน้มจะล้มเลิกกลางคัน ดังนั้นแรงจูงใจในการเรียนรู้ (Motivation to Learn) จะเป็นสิ่งสำคัญมากในการผลักดันให้เป้าหมายสำเร็จ คุณต้องตอบตัวเองให้ได้ว่า คุณทำสิ่งนั้นไปทำไม คุณไม่อยากเป็นผู้นำแล้วเหรอ หรือแท้จริงแล้ว คุณชอบที่จะเป็นผู้ตามมากกว่า </span></p> <p><span style="color: #ff6600;">(เครดิตข้อมูล: 21 กฎเหล็กแห่งการเป็นผู้นำ, John C. Maxwell)</span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1etloifjmf2o1du86qo1jet1gu1b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-22 12:48:00 [end_date] => 2017-06-22 12:48:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2021-02-04 12:57:19 [comment_status] => 0 [viewed] => 13252 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [3] => Array ( [article_id] => 52758 [category_id] => 3152 [title] => ผู้นำกับ Growth Mindset [category_name] => Articles [category_description] => [category_image] => [description] => ผู้นำกับ Growth Mindset [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ผู้นำกับ Growth Mindset<br /></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/8)%20%E0%B8%89%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2.jpg" width="818" height="350" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เรียนรู้ Growth Mindset จากเรื่องจริง</span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีเด็กหนุ่มคนหนึ่ง เขาไม่เพียงเกิดในครอบครัวยากจน แต่ยังโชคร้ายที่มีคุณพ่อที่ขี้เมาและมีทัศนคติลบตลอดเวลา เวลาเมาก็ชอบทำร้ายแม่ และชอบบอกกับตัวเองเสมอว่า “คนที่เกิดในสลัม โตในสลัม ก็ต้องตายในสลัม” ไม่เพียงแค่บอกตัวเองเท่านั้น พ่อยังบอกกับเด็กหนุ่มด้วยว่า “ลูกเอ๋ย!!! จะไปเรียนหนังสือทำไม อนาคตยังไงก็ต้องจบในสลัม ชะตาฟ้าลิขิตมาแล้วว่าต้องเป็นแบบนี้ ถ้าเขาอยากจะให้เจ้าได้ดี เขาต้องให้เจ้าไปเกิดในที่ดี ๆ ไปแล้ว เข้าใจมั๊ย” <br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ชีวิตยังไม่โชคร้ายซะทีเดียว เด็กหนุ่มมีคุณแม่ที่มีความเชื่อหรือแนวคิดที่ดี (Mindset) เธอคอยสอนลูกชายว่า “เกิดที่ไหนไม่สำคัญ สถานภาพเป็นอย่างไรไม่สำคัญ สำคัญว่าตั้งใจจะเป็นอะไรต่างหาก วันนี้เป็นอย่างไรไม่สำคัญ สำคัญว่าอนาคตจะเป็นอย่างไรต่างหาก”<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">พ่อพูดอย่างหนึ่ง แม่พูดอย่างหนึ่ง ไม่รู้จะเชื่อใครดี? คุณที่กำลังอ่านบทความนี้อยู่ คิดว่าเด็กหนุ่มจะเชื่อใคร<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยธรรมชาติของจิตย่อมมุ่งลงไปสู่ที่ง่ายกว่าเสมอ ถ้าเลือกได้เราจะเลือกทำในสิ่งที่ง่ายกว่าเสมอ เชื่อพ่อง่ายกว่าเชื่อแม่ เด็กหนุ่มจึงดำเนินชีวิตตามที่พ่อสอน เขาตั้งใจเรียนได้สักพัก เริ่มขี้เกียจ คิดว่าตั้งใจเรียนไปก็เท่านั้น อนาคตคงเอาดีไม่ได้ ยังไงก็ต้องอยู่แต่ในสลัม สุดท้ายก็เป็นนักเรียนนักเลง และถูกไล่ออกจากโรงเรียน เมื่อใช้ชีวิตทำงาน หัวหน้าพูดจาผิดหูหน่อยก็ไม่พอใจ ในที่สุดจึงตกงานครั้งแล้วครั้งเล่า จนกระทั่งอายุ 35 ปี มีครอบครัว มีลูก ชีวิตยากจนถึงขั้นว่าไม่มีแม้แต่นมหรืออาหารจะให้ลูกกิน</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “โดยธรรมชาติของจิตย่อมมุ่งลงไปสู่ที่ง่ายกว่าเสมอ ถ้าเลือกได้เราจะเลือกทำในสิ่งที่ง่ายกว่าเสมอ”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">โชคชะตายังปราณี วันหนึ่งคิดขึ้นมาได้ว่า เชื่อพ่อมาตลอด 35 ปี ชีวิตไม่มีอะไรดีขึ้น มีแต่จะแย่ลง ๆ เราแย่ไม่เป็นไร แต่ลูกจะมีพ่อที่แย่ไม่ได้ ถ้าอย่างนั้นเราลองเชื่อแม่บ้างดีกว่า ไม่มีอะไรเสียหาย เราจะลองทำตามที่แม่บอกว่า “เกิดมาจน หมายความว่าต้องทุ่มเทมากกว่าคนอื่น ต้องพยายามมากกว่าคนอื่น”</span><br /><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"></span></p> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">ทันทีที่คุณเปลี่ยนความคิด (Mindset) ชีวิตที่เหลือของคุณจะเปลี่ยนไป เขาเริ่มหางานทำ แต่สภาพร่างกายที่ดูโทรมของเขา ทุกที่จึงปฏิเสธเขาหมด ทุกครั้งที่ถูกปฏิเสธงาน เขามีความรู้สึกท้อมาก วันหนึ่งมาหยุดอยู่หน้าโชว์รูมรถยนต์ มองเห็นพนักงานขายรถที่ดูแลคิวลูกค้าของตนเอง ลูกค้าเดินเข้ามาก็ไปดูแล แล้วพยายามขาย เขาบอกกับตัวเองว่า แค่ขายรถคงไม่ยาก จึงตัดสินใจเดินเข้าไปสมัครงานกับผู้จัดการโชว์รูม เขาได้รับการปฏิเสธเพราะเรียนไม่จบ ไม่มีประสบการณ์ขาย ไม่มีความรู้เรื่องรถ และขับรถไม่เป็น ไม่ว่าเขาจะร้องขออย่างไร ผู้จัดการก็ปฏิเสธ สุดท้ายได้งานเพราะลูกตื๊อ และจากการให้โอกาสของผู้จัดการ แต่อยู่บนเงื่อนไขว่า ทางโชว์รูมไม่มีเงินเดือนให้ ถ้าขายได้จึงจะให้คอมมิชชั่น</span></p> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">วันแรกของการขาย เขาจำได้แค่เพียงว่าลูกค้าเป็นเซลส์ขายน้ำอัดลม หน้าตาเป็นอย่างไรและชื่ออะไรจำไม่ได้เลย ในหัวมีแต่ความคิดว่า “ขายได้มีข้าวกิน ขายไม่ได้ไม่มี” เขาพยายามเต็มที่กับความรู้ที่มี โชคชะตาเข้าข้าง วันนั้นเขาขายได้ เขาขอเบิกคอมมิชชั่นล่วงหน้าและซื้ออาหารกลับบ้าน วันนั้นเป็นวันที่เขามีความสุขที่สุด เขาบอกกับตนเองว่า “ขนาดไม่รู้อะไรเลยยังขายได้ ถ้ารู้มากกว่านี้ มันน่าจะยิ่งขายได้สิ น่ากลัวแม่คงพูดถูกว่าที่เกิดมาจน หมายความว่าต้องพยายามมากกว่าคนอื่น วันหนึ่งจะภูมิใจมากกว่าคนอื่น”</span><br /><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"></span></p> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">คืนนั้นเขานอนไม่หลับ คิดใคร่ครวญกับเรื่องราวของชีวิตที่ผ่านมาทั้งหมด ตื่นเช้าขึ้นมาบอกกับตนเองว่า “เราก็ดีได้นะ ไม่มีความรู้ยังขายได้ ถ้ามีความรู้จะเป็นอย่างไร ไหน ๆ จะทำแล้ว ทำไมไม่ทำให้ดีที่สุดล่ะ”</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ทันทีที่คุณเปลี่ยนความคิด (Mindset) ชีวิตที่เหลือของคุณจะเปลี่ยนไป”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เขาเริ่มเรียนรู้ทุกอย่างที่จำเป็นต่องานขาย ไม่ว่าจะเป็นความรู้สินค้า วิธีการขายจากเซลส์ที่เก่งที่สุดในโชว์รูม การดูแลลูกค้า การทำให้ลูกค้าประทับใจ ใช้ความพยายามอย่างสูงมาก จนผลงานขายดีขึ้นเป็นลำดับ กลายเป็นยอดนักขายอันดับหนึ่งของโชว์รูม ของเมือง ของรัฐ และของประเทศ คนเดียวที่สามารถทำลายสถิติของเขาได้ตลอด 11 ปี คือตัวเขาเอง จากเด็กหนุ่มที่ล้มเหลวมาตลอด 35 ปี ได้รับเกียรติจารึกชื่อลงในหนังสือ Guinness Book of World Record ว่าเป็น <strong>“สุดยอดนักขายอันดับหนึ่งตลอดกาลของโลกชื่อ โจ จิราด (Joe Girard)”</strong> </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" style="display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;" src="../../sites/10292/files/u/articles/joepoland6.jpg" width="650" /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เรื่องราวนี้สอนให้รู้ว่า ทันทีที่คุณเปลี่ยนความคิดหรือความเชื่อของคุณ (Mindset) การกระทำของคุณจะเปลี่ยนไปทันที (Behavior) โจ จิราด ในช่วงก่อนอายุ 35 ปี เป็นคนที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว (Fixed Mindset) หมายถึง เขาเชื่อว่าคุณสมบัติของตนเองเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่โจ จิราด ในช่วงหลังจากอายุ 35 ปี เป็นคนที่มีกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) หมายถึง เขาเชื่อว่าคุณสมบัติของตนเองเป็นสิ่งที่สามารถพัฒนาได้ด้วยความพยายาม ถึงแม้ว่าคนเราอาจมีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน แต่ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและการเก็บเกี่ยวจากประสบการณ์ (Effort and Experience)</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) หมายถึง การเชื่อว่าคุณสมบัติของตนเองเป็นสิ่งที่สามารถพัฒนาได้ด้วยความพยายาม ถึงแม้ว่าคนเราอาจมีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน แต่ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและการเก็บเกี่ยวจากประสบการณ์ (Effort and Experience)”</span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กรอบความคิด (Mindset) จะเป็นตัวกำหนดเราทุกอย่าง เราจะเป็นอย่างไรก็เพราะมุมมองของเราที่มีต่อเรื่องต่าง ๆ และกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) มีความสำคัญมากต่อการใช้ชีวิต ช่วยให้คนมีการพัฒนาตนเอง มีการตั้งเป้าหมาย (Target) ใช้ความพยายามมากขึ้น (Effort) และมีระเบียบวินัยต่อตนเอง (Discipline)</span></p> <p><span style="color: #ff6600;">(เครดิตข้อมูล: งานแห่งอนาคต (Career for Life), มนตรี แสงอุไรพร)</span></p> <p><span style="color: #ff6600;">(เครดิตรูปภาพ: https://www.joegirard.com/)</span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1etm6ag8t1kd81mde1l5k1cf4iolb.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-22 12:48:00 [end_date] => 2017-06-22 12:48:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2021-02-04 17:22:17 [comment_status] => 0 [viewed] => 17741 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [4] => Array ( [article_id] => 53034 [category_id] => 3152 [title] => หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ [category_name] => Articles [category_description] => [category_image] => [description] => หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ</strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/Productivity/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%20Productivity%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/7)%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%20(1110x476).jpg" width="818" height="351" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal System) เป็นหนึ่งในระบบงานด้านทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญที่สุด โดยอยู่ในส่วนของการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) เพื่อการพัฒนาองค์กร ซึ่งหลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เกิดประโยชน์ต่อองค์กรและบุคลากรนั้น ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทองค์กรและคุณลักษณะของบุคลากรแต่ละกลุ่ม ต้องใช้วิธีการประเมินผลที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมิน และการออกแบบต้องส่งผลต่อการพัฒนาบุคลากรและองค์กร</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ถ้าองค์กรไม่ได้กำหนดเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน หรือไม่ได้กำหนดค่านิยมองค์กรไว้สำหรับประเมิน (Core Value) มีแนวโน้มผู้ประเมินผลแต่ละคนอาจจะใช้ “ค่านิยม” ของตนเอง (Personal Value Judgement) ในการประเมินลูกน้อง หรือเรียกว่ามี “ความผิดพลาดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน” เช่น การเหมารวม (Stereotyping) หรือผลกระทบจากความคล้ายคลึง (Similar-to-me Effect) เป็นต้น ซึ่งภาวะดังกล่าว จะส่งผลเสียต่อการประเมินเป็นอย่างมาก ทั้งในแง่ของความสอดคล้อง ความเที่ยงตรง ความเชื่อถือ และความยุติธรรมในการประเมินผลงาน<br /></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยปกติแล้วการประเมินผลการปฏิบัติงาน สามารถพิจารณาได้เป็น 3 ระดับตามหลักการของการพัฒนาองค์กร คือ ผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร (Corporate Performance) ผลการปฏิบัติงานระดับกลุ่ม (Group Performance) และผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล (Individual Performance) ดังนั้นการประเมินผลการปฏิบัติงาน จึงมิได้เป็นเพียงการประเมินตัวบุคคลเท่านั้น หากแต่เป็นการประเมิน 3 ระดับ ดังกล่าว ดังนั้นจึงควรรู้ว่าผลการปฏิบัติงานนั้นเป็นความรับผิดชอบของใคร และไม่สามารถนำผลการปฏิบัติงานกลุ่ม มาใช้ประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคลได้ </span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เกิดประโยชน์ต่อองค์กรและบุคลากร 1) ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทองค์กรและคุณลักษณะของบุคลากรแต่ละกลุ่ม 2) ต้องใช้วิธีการประเมินผลที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมิน และ 3) การออกแบบต้องส่งผลต่อการพัฒนาบุคลากรและองค์กร” </span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยข้อเท็จจริงการประเมินผลการปฏิบัติงานมีประโยชน์มากต่อองค์กรและผู้ถูกประเมิน เพียงแต่ว่าต้องสามารถออกแบบระบบการประเมินให้ถูกต้อง และสอนให้ผู้ประเมินใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานให้เป็น (Performance Appraisal Form) ซึ่งจะเกิดประโยชน์อย่างมาก ทั้งในด้านผลงานและการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะการทำงานสูงขึ้น (Competency) บทความนี้จะเน้นการประเมินผลการปฏิบัติงานระดับกลุ่มและบุคคลเท่านั้น และจะกล่าวถึงหลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้เกณฑ์ 6 ข้อ เป็นแนวทางในการออกแบบ</span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000;"><strong><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ<br /></span></strong></span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความสอดคล้อง (Relevance) </strong>เป็นเกณฑ์ข้อแรกที่สำคัญที่สุด เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักของการประเมินคือ เพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนและพัฒนาองค์กร ดังนั้นเกณฑ์ความสอดคล้อง จึงเปรียบเสมือนการกลัดกระดุมเม็ดแรก ถ้ากลัดถูกเกณฑ์อื่นย่อมถูกต้องไปด้วย และการออกแบบการประเมินควรมีประเด็นที่ทำให้บุคลากรทุกคนในองค์กร สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กร เช่น บริษัท 3M เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ได้ตั้งเป้าหมายระดับองค์กรว่า ร้อยละ 30 ของยอดขายทั่วโลกในแต่ละปี ต้องมาจากผลิตภัณฑ์ที่ถูกคิดค้นในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา หรือเรียกว่า “The 3M 30 Percent Challenge” ซึ่งเป้าหมายนี้มีการถ่ายโอนไปสู่ระดับผู้จัดการ และระดับบุคลากรทุกคนในองค์กร ที่จะต้องรับเรื่องนวัตกรรมไปดำเนินการ โดยกำหนดเป็นร้อยละ 15 ของเวลาทำงาน ให้บุคลากรเลือกโครงการที่อยากทำ ดังนั้นตัววัดผล (KPI) ควรเป็นโครงการที่ได้มีการลงมือทำ เป็นต้น</span></p> <p><span style="color: #000000;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">อีกตัวอย่างคือ องค์กรที่เน้นผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพดีและมีต้นทุนต่ำ ถ้าองค์กรมีนโยบายคุณภาพและลดต้นทุน การใช้เกณฑ์ความสอดคล้อง ต้องออกแบบให้บุคลากรเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กร ตัววัดผลงานคือ การค้นหาความสูญเปล่าในกระบวนการ หรือกิจกรรมไคเซ็นที่ได้ผลจริง</span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “ความสอดคล้อง (Relevance) เป็นเกณฑ์ข้อแรกที่สำคัญที่สุด เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักของการประเมินคือ เพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนและพัฒนาองค์กร และการออกแบบการประเมินควรมีประเด็นที่ทำให้บุคลากรทุกคนในองค์กร สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กร” </span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) ความเที่ยงตรง (Validity)</strong> ความเที่ยงตรงเป็นการพยายามในการประเมินสิ่งที่ต้องการประเมินอย่างแท้จริง ผลที่วัดได้อาจไม่มีความเที่ยงตรงก็เป็นได้ ถ้าเลือกใช้ข้อมูลหรือตัววัดที่ผิด ไม่สะท้อนสิ่งที่ต้องการประเมิน เช่น ถ้าต้องการวัดปริมาตรน้ำ ควรใช้ถ้วยตวง ไม่ควรใช้ไม้บรรทัด หรือต้องการประเมินการบริการของพนักงานขาย ควรต้องใช้การประเมินจากผู้รับบริการ ไม่ควรใช้การประเมินจากหัวหน้างานที่เห็นการให้บริการของผู้ปฏิบัติงาน </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">สำหรับตัววัดผล (KPI) ความเที่ยงตรงจะเกิดขึ้น เมื่อผลการปฏิบัติงานที่ต้องการประเมินสามารถเก็บผลงานได้ชัดเจน และในส่วนของสมรรถนะ (Competency) ความเที่ยงตรงจะเกิดขึ้น เมื่อสมรรถนะที่ต้องการประเมินสามารถบันทึกพฤติกรรมที่คาดหวังได้ชัดเจน (Expected Behavior)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) </strong>ความเชื่อถือได้เป็นความพยายามในการประเมินเพื่อให้ได้ค่าที่แท้จริง (True Value) เป็นความพยายามให้ได้ค่าที่ถูกต้องเท่ากันทุกครั้งไม่ว่าใครประเมิน หรือประเมินกี่ครั้งก็ตาม ยังคงได้ค่าเท่าเดิม</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อคิด</span> การวัดสิ่งที่จับต้องได้และมีความเป็นรูปธรรม (KPI) เช่น ของเสีย เครื่องจักรหยุดทำงาน ปัญหาซ่อมเกิดซ้ำ การรับและจ่ายสินค้าผิด สินค้าเสียเนื่องจากการจัดเก็บ เป็นต้น ค่อนข้างจะได้ค่าเท่ากันทุกครั้ง เพราะมีหลักฐานแน่นอนในการวัดโดยใช้การบันทึกผลงาน </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อคิด</span> การวัดสิ่งที่มีความเป็นนามธรรมและความสามารถ (Competency) เช่น ความรับผิดชอบ จิตสำนึกคุณภาพ ความรู้และทักษะในเครื่องจักร การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น มีแนวโน้มจะได้ค่าต่างกัน ดังนั้นต้องระบุและให้รายละเอียดพฤติกรรมที่คาดหวังให้ชัดเจน (Expected Behavior)</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) ครอบคลุม (Comprehensive) </strong>หมายถึง การออกแบบระบบประเมินที่ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถระบุสิ่งที่ทำ หรือใช้เวลาในการทำงานเพื่อทีมงานหรือองค์กร โดยควรครอบคลุมภาระงานขั้นต่ำและผลงานที่มากกว่าภาระงานขั้นต่ำ รวมถึงทุกสิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานได้ทำ โดยสามารถระบุลงในแบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงานได้ โดยควรครอบคลุมภาระงานขั้นต่ำและผลงานที่มากกว่าภาระงานขั้นต่ำ รวมถึงทุกสิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานได้ทำ </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) ใช้ได้จริง (Feasible) </strong>หมายถึง กระบวนการประเมินและแบบฟอร์มการประเมิน สามารถทำให้ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินนำไปใช้ได้จริง ไม่ยากจนเกินไป ไม่ใช้เวลามากจนเกินความจำเป็น</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) แยกแยะได้ (Distinguish) </strong>หมายถึง ผลการประเมินการปฏิบัติงาน (ค่าคะแนน) สามารถแยกแยะระหว่างผู้ปฏิบัติงานโดดเด่น ผู้ปฏิบัติงานได้ตามความคาดหวัง และผู้ปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามความคาดหวัง ออกจากกันได้</span></p> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> “หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้เกณฑ์ 6 ข้อ ได้แก่ 1) ความสอดคล้อง (Relevance) 2) ความเที่ยงตรง (Validity) 3) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) 4) ครอบคลุม (Comprehensive) 5) ใช้ได้จริง (Feasible) และ 6) แยกแยะได้ (Distinguish)” </span></td> </tr> </tbody> </table> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเกณฑ์ 6 ข้อ เป็นหลักการที่ทำให้การออกแบบระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และสามารถนำเกณฑ์ดังกล่าวมาตรวจสอบ และปรับปรุงระบบการประเมินผลงานที่ใช้ในปัจจุบันให้ดียิ่งขึ้น</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">(เครดิต: เรียบเรียงข้อมูลจากหนังสือ "การบริหารผลการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์: เครื่องมือพัฒนาองค์กร" ศ.ดร.จิรประภา อัครบวร) </span></p> </blockquote> </div> [image] => o_1f8a5699s15vjuth7pdbnc1ptjb.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-06-22 12:48:00 [end_date] => 2017-06-22 12:48:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2021-06-16 17:17:11 [comment_status] => 0 [viewed] => 7646 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [5] => Array ( [article_id] => 48491 [category_id] => 3930 [title] => การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ (Logical Thinking and Systematic Problem Solving) [category_name] => Public Calendar [category_description] => [category_image] => [description] => [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ<br />(Logical Thinking and Systematic Problem Solving)</strong></span></h1> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/1)%20Public%20Training%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/o_1b95eet9hsuj11v1dlckk210dqb.jpg" width="252" height="241" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT <a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/TH%201.10%20Course%20outline%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a> | TRAINING CALENDAR <a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a> | APPLY NOW <a href="ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-48491-การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำของหัวหน้างาน-leadership-developme.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span> <a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity & HR Consultant</span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ปัญหา</strong>คือ “ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นและไม่ตรงกับความคาดหวังหรือสิ่งที่ควรจะเป็น” การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเกี่ยวข้องกับ<span style="text-decoration: underline;">การทำงานของสมอง (การคิด) และพฤติกรรมที่ใช้แก้ปัญหา</span> เมื่อมีปัญหาผ่านเข้ามาสู่ระบบการรับรู้ของมนุษย์ (Sensing) มนุษย์แต่ละคนมีวิธีการจัดการกับปัญหาที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งส่งผลให้เกิดการสะสมเป็นประสบการณ์ที่แตกต่างกันในแต่ละคน ดังนั้นการให้ความสำคัญกับแต่ละปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสบการณ์ที่มี<strong>ประสิทธิภาพ (Effective Experience)</strong> ในการแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก<br /></span><br /> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">หนึ่งในการคิดแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพคือ <strong>“การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking)”</strong> เนื่องจากเหตุผลต่าง ๆ 9 ข้อ ดังนี้ </span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะให้ความสำคัญกับการมองภาพรวมของปัญหา (Big Picture)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะมุ่งเน้นการกำหนด Framework ในการแก้ปัญหา </span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะมีการกำหนดเป้าหมายที่ต้องการบรรลุอย่างชัดเจน (Goal)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะแสดงลำดับขั้นตอนของความเป็นเหตุและผล (Cause and Effect)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อหาทางป้องกัน</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะประเมินอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นเพื่อหาทางหลีกเลี่ยง</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะหลีกเลี่ยงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะเน้นการจัดลำดับแก้ปัญหากับสิ่งที่ให้ผลผลัพธ์สูง</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะเน้นการแสวงหาความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา</span></li> </ul> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์หาเหตุผลแท้จริงของความสำเร็จและล้มเหลว แสดงลำดับขั้นตอนของเรื่องราวอย่างชัดเจน และอื่น ๆ ดังกล่าวข้างต้น เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจเลือกวิธีแก้ปัญหาในทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด อาจกล่าวได้ว่าการคิดเชิงตรรกะคือ “การตัดสินใจแบบมีเหตุผลรองรับ” ดังนั้นความคิดเชิงตรรกะถือว่าเป็นกระบวนการสร้างนิสัยการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ การตัดสินใจใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ และหลีกเลี่ยงการคิดแก้ปัญหาที่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิม</span></p> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการทำงานของสมองและพฤติกรรมแก้ปัญหาโดยธรรมชาติของมนุษย์ และความสำคัญของ Logical Thinking</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเสริมสร้าง Logical Thinking ของตนเองให้สูงขึ้นด้วยการให้ความสำคัญกับการพัฒนาปัจจัย 6 ประการ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนมีกระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบของ Logical Thinking โดยเรียนรู้ความสำคัญและประโยชน์ของการใช้ Framework and Technique ในการแก้ปัญหา</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Module - 1 พื้นฐานการคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่สมองก่อนการเรียนรู้<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการทำความเข้าใจปรากฏการณ์</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการสำคัญของการแก้ปัญหาเชิงระบบ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการคิดเชิงตรรกะ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ทำไมต้องเรียนรู้ความคิดเชิงตรรกะ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของความคิดเชิงตรรกะ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I:</span> สำรวจปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของตนเอง</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Module - 2 ปัจจัย 6 ประการส่งเสริมการสร้างการคิดเชิงตรรกะ </span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ฝึกก้าวข้ามอุปสรรคของตนเอง<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความแตกต่างระหว่างวัตถุประสงค์และวิธีการ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การฝึกค้นหาสาเหตุที่แท้จริง</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การมองภาพใหญ่ก่อนแก้ปัญหา (Big Picture)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การขยายกรอบความคิดให้ใหญ่ขึ้น</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดการจัดการข้อมูลด้วย Keyword และการจัดกลุ่ม</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Module - 3 การคิดเชิงตรรกะและแก้ปัญหาด้วย Framework and Technique </span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจ<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความสำคัญและประโยชน์ของ Framework</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบการวิเคราะห์ปัญหา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบการจัดระเบียบข้อมูล</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบค้นหาแนวทางการแก้ปัญหา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบแสดงความสัมพันธ์</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบเพื่อการตัดสินใจ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Main Technique ของทุก Framework</span></li> </ul> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"> <img src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /> สภาพการณ์ที่ไม่มีการตกหล่นหรือความซ้ำซ้อน (MECE - Mutually Exclusive Collectively Exhaustive)<br /><span> <img src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /> Option Thinking and Brainstorming</span><br /><span> <img src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /> การจัดลำดับสิ่งที่ให้ผลลัพธ์สูง (Priority – ABC Concept)</span><br /></span></p> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span>Technique ของแต่ละ Framework</span></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span>ตัวอย่างเพื่อเรียนรู้การแก้ปัญหา Framework and Technique</span></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span><span style="text-decoration: underline;">Activity II:</span> การแก้ปัญหาด้วยความคิดเชิงตรรกะ </span></span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Module - 4 การพัฒนานิสัยการคิดเชิงตรรกะอย่างยั่งยืน</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด “Knowledge is not Understanding”</span></li> </ul> </blockquote> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" /> public@bananatraining.com</a></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" /> <a href="callto:080-626-9565">080-626-9565</a></span></p> </div> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> </span></p> [image] => [schedule] => 0 [start_date] => 2017-07-01 07:58:00 [end_date] => 2017-07-01 07:58:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 4200.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2019-02-02 16:33:12 [comment_status] => 0 [viewed] => 1402 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [6] => Array ( [article_id] => 55664 [category_id] => 3930 [title] => การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) [category_name] => Public Calendar [category_description] => [category_image] => [description] => [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรมืออาชีพ<br />(Train The Trainer)</strong></span></h1> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT <a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Train%20The%20Trainer_Appication%20Form_Sep%2024-25%2C%202018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a> | PUBLIC CALENDAR <a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a> | APPLY NOW <a href="ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-48491-การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ-logical-thinking-and.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span> <a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity & HR Consultant</span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาบุคลากรในองค์กรมีหลายวิธี การฝึกอบรม (Training) เป็นเครื่องมือตัวหนึ่งที่ช่วยลดระยะเวลาในการพัฒนาบุคลากร ทำให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทำงานสูงขึ้น และทันกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ ตลอดจนสามารถใช้การฝึกอบรมกับการพัฒนาทักษะด้านอ่อน (Soft Skill or Soft Side) ให้กับบุคลากรในองค์กร เช่น ทัศนคติ ความฉลาดทางอารมณ์ หรือภาวะความเป็นผู้นำ เป็นต้น เพื่อสร้างและปรับแนวคิด ไปสู่การเปลี่ยนแปลงค่านิยมและพฤติกรรมในการทำงาน และการร่วมกันทำงานเป็นทีมอย่างมีความสุขได้</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วิทยากรภายในองค์กรและ/หรือหัวหน้าตามสายปฏิบัติงานที่ต้องรับผิดชอบฝึกอบรมพนักงานให้มีประสิทธิภาพ ควรมีการวางแผนและเตรียมการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ (Systematic Training) มีความสามารถในการนำเสนอหรือถ่ายทอดอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีคุณสมบัติที่ดีในการเป็นวิทยากร และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของวิทยากร หรือเรียกว่ามี “Mindset of Trainer” ที่ถูกต้องต่อวิชาชีพวิทยากรฝึกอบรม</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การวางแผนและเตรียมการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพควรใช้หลักการ 6P</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P1: Purpose การกำหนดวัตถุประสงค์ฝึกอบรม</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P2: People คำถามสำหรับการวิเคราะห์ผู้ฟัง</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P3: Period เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับเวลา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P4: Point เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P5: Provide สอนอย่างไรจึงเหมาะสมและดีที่สุด</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P6: Progress การประเมินผลของการฝึกอบรม</span></li> </ul> </li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากร (Train The Trainer) ให้กับบุคลากรในหน่วยงานเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะทำให้การฝึกอบรมบรรลุเป้าหมายของการฝึกอบรมที่กำหนดไว้ การฝึกอบรมจะไม่น่าเบื่อ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้จริง เพียงแต่วิทยากรผู้ฝึกอบรมต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในหลักการ 6P และให้ความสำคัญกับการฝึกฝนการถ่ายทอด (Delivery Skill) สม่ำเสมอ ซึ่งประโยชน์ที่เกิดขึ้นล้วนตกอยู่กับองค์กร และนำไปสู่การพัฒนาองค์กรได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น </span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้บุคลากรมีพื้นฐานแนวคิดที่ถูกต้องของการเป็นวิทยากรฝึกอบรม</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้บุคลากรเข้าใจหลักการ 6P ของการฝึกอบรม และสามารถสร้างวิธีการที่เหมาะสมในการฝึกอบรมในหลักสูตรของตนเองได้</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้บุคลากรได้ออกแบบและฝึกการสร้างหลักสูตรด้วยตนเอง และจำลองเหตุการณ์สำหรับการฝึกปฏิบัติจริงในห้องเรียน พร้อมกับร่วมกันเป็นกรรมการติชมการฝึกปฏิบัติ</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><span class="fa mceNonEditable"><span style="color: #ff0000;"></span> </span>พื้นฐานที่ถูกต้องของการเป็นวิทยากรมืออาชีพ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Mindset of Trainer ในความคิดของคุณ<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและบทบาทของวิทยากร</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">องค์ประกอบของการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการนำเสนออย่างมืออาชีพ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Workshop I: กิจกรรมอุ่นเครื่องวิทยากร</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 6P สำหรับการเตรียมแผนการสอน<br /></span> <img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Purpose การกำหนดวัตถุประสงค์การฝึกอบรม<br /></span> <img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">People คำถามสำหรับการวิเคราะห์ผู้ฟัง<br /></span> <img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Period เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับเวลา<br /></span> <img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Point เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอ<br /></span> <img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Provide สอนอย่างไรจึงเหมาะสมและดีที่สุด<br /></span> <img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Progress การประเมินผลของการฝึกอบรม</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="color: #ff0000;"><span class="fa mceNonEditable"> </span></span>การพัฒนาทักษะการจัดวางเนื้อหาอย่างมีระบบ </span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">โครงสร้างของการฝึกอบรมแบบมืออาชีพ<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด “ทฤษฎีช้าง” กับเทคนิคการวางเนื้อหาสาระ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">องค์ประกอบของการนำเสนอในแต่ละช่วง</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพ (Provide)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคการฝึกอบรมแบบจุดศูนย์กลางการเรียนรู้ (วิทยากร/ผู้เรียน/อุปกรณ์)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ตัวอย่างการเตรียมแผนการสอนด้วย “แบบฟอร์มโครงสร้างแผนการสอน”</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Workshop II: การเตรียมแผนการสอน</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="color: #ff0000;"><span class="fa mceNonEditable"> </span></span>เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพของการฝึกอบรม</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Slide ประเภทต่าง ๆ และการประยุกต์ใช้</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การประยุกต์ใช้ Slide ประเภทแผนภาพ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การเตรียมสื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">7 อุปกรณ์พื้นฐานสำหรับการนำเสนอ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัจจัยส่งเสริมความน่าเชื่อถือของผู้นำเสนอ</span> <br /> <img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การใช้น้ำเสียงสำหรับการนำเสนอ<br /></span> <img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">อำนาจของภาษากายมีผลต่อการนำเสนอ<br /></span> <img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงของนักนำเสนอ</span></li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span>Workshop II: เตรียมสไลด์และโครงสร้างแผนการสอน (Take Home)</span></span></li> </ul> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span><span class="fa mceNonEditable"><span style="color: #ff0000;"></span> การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรอย่างยั่งยืน</span></span></span></p> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด <em>“Knowledge is not Understanding”</em></span></li> </ul> </blockquote> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" /> public@bananatraining.com</a></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" /> <a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p> </div> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> </span></p> [image] => [schedule] => 0 [start_date] => 2018-08-02 05:09:00 [end_date] => 2018-08-02 05:09:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 9500.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-12-31 14:31:53 [comment_status] => 0 [viewed] => 2967 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [7] => Array ( [article_id] => 56836 [category_id] => 3930 [title] => การแก้ปัญหาด้วยเทคนิค 8D Report [category_name] => Public Calendar [category_description] => [category_image] => [description] => [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>การแก้ปัญหาด้วยเทคนิค 8D Report & Why - Why Analysis<br />(Problem Solving by 8D Report & Why - Why Analysis)</strong></span></h1> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT <a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/8DReport/Public%208D%20Report_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a> | PUBLIC CALENDAR <a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a> | APPLY NOW <img class="active" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span> <a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity & HR Consultant</span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">องค์การจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง “คุณภาพ” ในสินค้าและบริการ ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร มีขั้นตอนสำหรับการแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง หรือเรียกอีกชื่อว่า “กระบวนการวิเคราะห์และแก้ปัญหาแบบ 8D Report” เพื่อสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งการพัฒนาให้ได้มาซึ่งคุณภาพนั้นสามารถทำได้โดยการลงทุนในเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วย “บุคลากร” อันหมายถึงการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะการทำงานของพนักงาน<br /><br />ปัญหาต่าง ๆ ของการทำงานในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะในกระบวนการทำงานภายในโรงงาน (Process in Factory) ซึ่งทักษะการวิเคราะห์ปัญหาด้วย 8D Report & Why – Why Analysis เป็นพื้นฐานสำคัญและมีความเหมาะสมกับการแก้ปัญหาในกระบวนการมาก การพัฒนาทักษะดังกล่าวส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ มีความเป็นระบบ มีขั้นตอนและมีเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ และได้ผลลัพธ์ทั้ง “<strong>การแก้ปัญหาและป้องกันปัญหา (Corrective & Preventive Action)</strong>” ที่มีร่วมกันในขั้นตอนของ 8D Report</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><br /></span><br /> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วย 8D Report & Why – Why Analysis มีขั้นตอนและข้อกำหนดตามมาตรฐานสากลดังนี้ </span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D1:</span> การจัดตั้งคณะทำงานแบบข้ามสายงาน (Build a Cross – Functional Team)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D2:</span> การทำความเข้าใจลักษณะของปัญหา (Describe the Problem)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D3:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น (Implement Containment Action)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D4:</span> การระบุรากสาเหตุ (Define Root Causes)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D5:</span> การกำหนดปฏิบัติการแก้ไข (Define Corrective Action)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D6:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาถาวร (Implement Permanent Corrective Action)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D7:</span> วางมาตรการป้องกันการเกิดซ้ำ (Prevent Recurrence)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D8:</span> การยินดีกับความสำเร็จของคณะทำงาน (Congratulate the Team)</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำคัญของการวิเคราะห์และแก้ปัญหา ผ่านการเรียนรู้ด้วยโมเดล “สาเหตุและผลกระทบ” (Cause and Effect) และ “ความมีเหตุผล” (Reasonableness)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการของ 8D Report อย่างเป็นขั้นตอน และสามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเครื่องมือควบคุมคุณภาพที่จำเป็นและเทคนิค Why – Why Analysis ผ่านการเรียนรู้ด้วยปัญหาภายในห้องเรียน</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานของการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกระบวนการ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่ของสมองก่อนการเรียนรู้<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการทำงานของสมองและพฤติกรรมแก้ปัญหา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">จิตสำนึกความเป็นเจ้าของกับ 8D Report & Why – Why Analysis</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์และแก้ปัญหา</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">สาเหตุ <span class="fa mceNonEditable"></span> ผลกระทบ (Cause <span><span class="fa mceNonEditable"> </span></span>Effect)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความมีเหตุผล (Reasonableness)</span></li> </ul> </li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">พื้นฐานของการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกระบวนการ (ต่อ)</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่<br /></span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Management = Standardization + Improvement Activity</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการของความเป็นระบบ (System)</span></li> </ul> </li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและประเภทของปัญหา (Sporadic & Chronic Problem)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">มาตรการการแก้ไขปัญหาคุณภาพ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การทำให้ถูกต้อง (Correction)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การปฏิบัติการแก้ไข (Corrective Action : C/A)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การปฏิบัติการป้องกัน (Preventive Action : P/A)</span></li> </ul> </li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ขั้นตอนและข้อกำหนดของการทำ 8D Report</span> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D1:</span> การจัดตั้งคณะทำงานแบบข้ามสายงาน (Build a Cross – Functional Team)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D2:</span> การทำความเข้าใจลักษณะของปัญหา (Describe the Problem)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D3:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น (Implement Containment Action)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D4:</span> การระบุรากสาเหตุ (Define Root Causes)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D5:</span> การกำหนดปฏิบัติการแก้ไข (Define Corrective Action)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D6:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาถาวร (Implement Permanent Corrective Action)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D7:</span> วางมาตรการป้องกันการเกิดซ้ำ (Prevent Recurrence)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D8:</span> การยินดีกับความสำเร็จของคณะทำงาน (Congratulate the Team)</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคสำหรับการแก้ปัญหาด้วย 8D</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">7 เครื่องมือควบคุมคุณภาพ (7 QC Tools)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคแก้ปัญหาด้วย Why – Why Analysis & 3G</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I:</span> การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนผังพาเรโต (Pareto Chart)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II:</span> การแก้ปัญหาด้วยหลักการ 8D (โจทย์ของสถาบันฯ)</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด “Knowledge is not Understanding”</span></li> </ul> </blockquote> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" /> public@bananatraining.com</a></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" /> <a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p> </div> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> </span></p> [image] => [schedule] => 0 [start_date] => 2018-09-25 06:19:00 [end_date] => 2018-09-25 06:19:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 3900.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-09-25 16:07:27 [comment_status] => 0 [viewed] => 765 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [8] => Array ( [article_id] => 56841 [category_id] => 3930 [title] => การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA [category_name] => Public Calendar [category_description] => [category_image] => [description] => [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA<br />(Continuous Improvement with PDCA Cycle)</strong></span></h1> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT <a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/PDCA/Public%20PDCA_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a> | PUBLIC CALENDAR <a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a> | APPLY NOW <img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span> <a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity & HR Consultant</span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">องค์การจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง “คุณภาพ” ในผลิตภัณฑ์สูงขึ้น ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร ต้องมีขั้นตอนการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์อย่างเป็นรูปธรรม หรือมีลักษณะของการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving) ซึ่งทั้งหมดมีวัตถุประสงค์เพื่อ “ลดต้นทุนในกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์” โดยแนวทางที่นิยมใช้มากในอุตสาหกรรมคือ “การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA” หรือที่เราคุ้นเคยในชื่อ “วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle)”</span><br /><br /> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA เป็นกระบวนการของการเชื่อมต่อกิจกรรม ที่คำนึงถึง “สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิมเสมอ” ด้วยการใช้กิจกรรมการแก้ปัญหาเพื่อปรับปรุงคุณภาพ (Improvement Activity) มาเป็นตัวขับเคลื่อนวงจร และวงจร PDCA ยังเป็นส่วนหนึ่งของแนวความคิดของการบริหารงานสมัยใหม่ ที่มีวัตถุประสงค์ให้แต่ละแผนกปฏิบัติงานด้วย “มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standardization)” ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การปฏิบัติงานมีความเป็นระบบ (System) มากขึ้น ดังนั้นเมื่อเกิดปัญหาคุณภาพขึ้นในกระบวนการ การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาจึงสามารถ<span style="text-decoration: underline;">ใช้รูปแบบ วิธีการ หรือขั้นตอนแก้ปัญหาที่มีความเหมือนกันกับบริบทของปัญหาที่เปลี่ยนไป</span> </span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA มีองค์ประกอบและขั้นตอนดังนี้</span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Plan (การวางแผน) มีรายละเอียดดังนี้</span> <ol> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การนิยามปัญหา – เพื่อการเลือกปัญหาและระบุปัญหาให้ชัดเจน</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์ปัญหาและตั้งเป้าหมาย – เพื่อกำหนดขอบเขตและตั้งเป้าหมายของการแก้ปัญหา</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์สาเหตุ – เพื่อค้นหารากสาเหตุที่แท้จริง (Root Cause Analysis)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การกำหนดมาตรการแก้ไข - เพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุด</span></li> </ol> </li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Do (การลงมือปฏิบัติ) – 5. การนำมาตรการแก้ไขไปใช้</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Check (การตรวจสอบ) – 6. การตรวจสอบเพื่อยืนยันผลลัพธ์</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ACT (การปฏิบัติการแก้ไข) – 7. การป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหาด้วยการปรับมาตรฐาน</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกของการลดต้นทุนและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในมิติของวงจร PDCA</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจการบริหารงานสมัยใหม่ อันประกอบไปด้วยมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standardization) และกิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Improvement Activity)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคนิคของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง PDCA ด้วยการเรียนรู้จากการแก้ปัญหาที่มอบหมายให้ภายในชั้นเรียน</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานและแนวคิดการปรับปรุงคุณภาพ (PQC Mindset)</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่สมองก่อนการเรียนรู้</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดในการทำกำไรของธุรกิจสมัยใหม่</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">กรณีศึกษา</span>: เรียนรู้จิตสำนึกการลดต้นทุน</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">จิตสำนึกความเป็นเจ้าของกับการปรับปรุงคุณภาพ (Ownership Quotient)</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">พื้นฐานการควบคุมคุณภาพและปรับปรุงคุณภาพ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคเพื่อการลดต้นทุนการผลิต</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่</span> <ul> <li>Management = Standardization + Improvement Activity</li> <li>หลักการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement - PDCA)</li> <li>หลักการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving)</li> </ul> </li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">การควบคุมคุณภาพ</span>ของกระบวนการด้วยวงจร SDCA</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและประเภทของปัญหา (Sporadic & Chronic Problem)</span> <ul> <li>ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect)</li> <li>ปัญหาคุณภาพในมิติของความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)</li> </ul> </li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การวิเคราะห์ต้นทุนของปัญหาคุณภาพด้วยแนวคิดเศรษศาสตร์</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">การปรับปรุงคุณภาพ</span>ของกระบวนการด้วยวงจร PDCA</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความสัมพันธ์ของวงจร SDCA และวงจร PDCA</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I</span>: ค้นหาปัญหาเรื้อรัง (Chronic Problem) ในกระบวนการ</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">มาตรการแก้ปัญหาคุณภาพและปรับปรุงกระบวนการ </span> <ul> <li>การทำให้ถูกต้อง (Correction)</li> <li>การปฏิบัติการแก้ไข (Corrective Action : C/A)</li> <li>การปฏิบัติการป้องกัน (Preventive Action : P/A)</li> </ul> </li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ขั้นตอนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของวงจร PDCA</span> <ul> <li>Plan (การวางแผน) <ol> <li>การนิยามปัญหา</li> <li>การวิเคราะห์ปัญหาและตั้งเป้าหมาย</li> <li>การวิเคราะห์สาเหตุ</li> <li>กำหนดมาตรการแก้ไข</li> </ol> </li> <li>Do (การลงมือปฏิบัติ) – 5. การนำมาตรการแก้ไขไปใช้</li> <li>Check (การตรวจสอบ) – 6. การตรวจสอบเพื่อยืนยันผลลัพธ์</li> <li>ACT (การปฏิบัติการแก้ไข) – 7. การป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหาด้วยการปรับมาตรฐาน</li> </ul> </li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือประกอบการปรับปรุงคุณภาพของวงจร PDCA</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II</span>: เรียนรู้ขั้นตอนการปรับปรุง PDCA ด้วยปัญหาที่กำหนดให้</span></li> </ul> </blockquote> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" /> public@bananatraining.com</a></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" /> <a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p> </div> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> </span></p> [image] => [schedule] => 0 [start_date] => 2018-09-25 09:38:00 [end_date] => 2018-09-25 09:38:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 3900.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2019-02-02 22:51:10 [comment_status] => 0 [viewed] => 2459 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์วิสุทธิ์ ทบพักตร์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [9] => Array ( [article_id] => 56843 [category_id] => 3930 [title] => QC Story และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ [category_name] => Public Calendar [category_description] => [category_image] => [description] => [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>QC Story และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ<br />(QC Story for Systematic Problem Solving)</strong></span></h1> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT <a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/QC%20Story/Public%20QC%20Story_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a> | PUBLIC CALENDAR <a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a> | APPLY NOW <a href="../../ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-56843-qc-story-และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span> <a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity & HR Consultant</span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">องค์การจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง “คุณภาพ” ในสินค้าและบริการ ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร มีขั้นตอนสำหรับการแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง หรือเรียกอีกชื่อว่า “<strong>กระบวนการแก้ไขปัญหาแบบคิวซีสตอรี่ (QC Story)</strong>” เพื่อสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งการพัฒนาให้ได้มาซึ่งคุณภาพนั้นสามารถทำได้โดยการลงทุนในเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วย “บุคลากร” อันหมายถึงการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะการทำงานของพนักงาน</span><br /><br /> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กระบวนการแก้ไขปัญหาคุณภาพแบบคิวซีสตอรี่ (QC Story) มีขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และมีเหตุมีผล ในปัจจุบันนี้พบว่ามีแนวทางการแก้ปัญหาเกิดขึ้นหลายค่าย อุตสาหกรรมของประเทศไทยมีการใช้ตามความเหมาะสมกับวัฒนธรรมขององค์กร อย่างไรก็ตาม วิธีการของแต่ละค่ายมีขั้นตอนต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะมีความใกล้เคียงกัน แต่ต่างกันเล็กน้อยในบางประเด็น สามารถแยกประเภทของกระบวนการแก้ปัญหาได้ดังนี้<br /></span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ตัวแบบ DISC ของ JURAN</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กระบวนการแก้ปัญหาที่สมเหตุสมผลของ Kepner – Tregoe</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">วิธีการแก้ปัญหาแบบ Six Sigma ของ MOTOROLA</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คิวซีสตอรี่ของ JSA – ระบบบริหาร TQM</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คิวซีสตอรี่ของ JUSE - กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ QC Circle</span></li> </ul> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การบริหารคุณภาพด้วยวงจร PDCA (Deming Cycle) นับว่าเป็นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หรือเรียกว่า Continuous Improvement ซึ่งมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับกระบวนการแก้ปัญหาคิวซีสตอรี่ของ JUSE (Japanese Union of Scientists and Engineers) อย่างเหมาะสมและลงตัว ทำให้ผู้เรียนเข้าใจและมีรูปแบบที่คุ้นเคยต่อการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยอาศัย “<strong>เครื่องมือคุณภาพอันทรงพลัง 7 ชนิด (7 QC Tools)</strong>” นำมาเรียงร้อยและประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อแก้ไขปัญหาคุณภาพ พร้อมกับสร้าง (แก้ไข) มาตรฐานการปฏิบัติงานใหม่ (ACT) ตามวิถีหรือแนวทางการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ไม่มีที่สิ้นสุดของวงล้อคุณภาพ PDCA</span></p> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายและตระหนักถึงคำว่า “คุณภาพ” ในมิติต่าง ๆ และหลักการของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control Principle)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงคุณภาพ (QC Story) ตามมาตรฐาน JUSE โดยผ่านการฝึกแก้ปัญหาโจทย์ที่ออกแบบมาในลักษณะการเชื่อมโยงเครื่องมือ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือควบคุมคุณภาพ (7 QC Tools) ได้จริง</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานและแนวคิดของการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการปรับสู่องค์กรแห่งคุณภาพ (Quality Organization)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดในการทำกำไรของธุรกิจสมัยใหม่</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">จิตสำนึกความเป็นเจ้าของกับการปรับปรุงคุณภาพ (Ownership Quotient)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการเพิ่มผลผลิต (Productivity)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">องค์ประกอบที่สำคัญของการเพิ่มผลผลิต (PQCDSMEE)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (KPI) กับมาตรฐาน PQCDSMEE</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I</span>: ทบทวนนโยบายคุณภาพและดัชนีชี้วัดความสำเร็จ</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและแนวความคิดของคุณภาพ</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของคุณภาพและคุณภาพตามมิติต่าง ๆ </span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวความคิดของการควบคุมคุณภาพ (เชิงเทคนิคและเชิงจัดการ)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control Principle)</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><br /></span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กรอบทางความคิดของขั้นตอนแก้ปัญหาด้วย QC Story</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่</span> <ul> <li>Management = Standardization + Improvement Activity</li> <li>ความเป็นระบบ (System) และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement - PDCA)</li> </ul> </li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วงจร SDCA และวงจร PDCA (Deming Cycle) กับการแก้ปัญหาคุณภาพ</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและประเภทของปัญหา (Sporadic & Chronic Problem)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การปรับปรุงคุณภาพอย่างเป็นระบบด้วย QC Story ตามมาตรฐาน JUSE</span> <ul> <li>การคัดเลือกหัวข้อ (Select Topic)</li> <li>การทำความเข้าใจกับสภานการณ์ (Understanding Situation) และตั้งเป้าหมาย (Set Target)</li> <li>การวางแผนกิจกรรมแก้ไขปัญหา (Plan Activities)</li> <li>การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analyze Causes)</li> <li>การพิจารณามาตรการตอบโต้และนำไปใช้ (Consider and Implement Countermeasure)</li> <li>การยืนยันผลลัพธ์ (Check Results)</li> <li>การจัดทำมาตรฐานและกำหนดระบบควบคุม (Standardization and Control System)</li> </ul> </li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคสำหรับการแก้ปัญหาด้วย QC Story</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ (QC Tools)<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคแก้ปัญหาด้วย 5 Why, 3G & Brainstorming Technique</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II</span>: โจทย์ประยุกต์การแก้ปัญหาด้วย QC Story </span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity III</span>: แก้ปัญหาคุณภาพของผู้เรียนด้วย QC Story</span> </li> </ul> </blockquote> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" /> public@bananatraining.com</a></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" /> <a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p> </div> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> </span></p> [image] => [schedule] => 0 [start_date] => 2018-09-25 10:23:00 [end_date] => 2018-09-25 10:23:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 3900.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-12-31 17:15:53 [comment_status] => 0 [viewed] => 1951 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [10] => Array ( [article_id] => 56844 [category_id] => 3930 [title] => การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา [category_name] => Public Calendar [category_description] => [category_image] => [description] => [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong><span>การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา</span><br />(Root Cause Analysis)</strong></span></h1> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT <a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/RootCause/Public%20Root%20Cause_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a> | PUBLIC CALENDAR <a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a> | APPLY NOW <a href="../../ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-56844-การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span> <a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity & HR Consultant</span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์รากสาเหตุ (Root Cause Analysis) คือ “การวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุที่แท้จริง (Root Cause) ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบหรือปรากฏการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ขึ้น (Effect) ด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบและเป็นขั้นตอน โดยไม่เกิดสภาพการณ์ตกหล่นและซ้ำซ้อน และไม่จินตนาการเอง” ดังนั้น Root Cause Analysis เปรียบเสมือนการมองเห็น “ผลกระทบ” และ “สาเหตุ” ในบางประเด็น แต่ยังไม่ด่วนสรุปทันทีว่าเกิดจากสาเหตุใด แต่พยายามค้นหาข้อเท็จจริงที่ถูกต้องและสอดคล้องเพื่อค้นหาว่า “<strong>สาเหตุที่แท้จริงคืออะไร</strong>”</span><br /><br /> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ปัญหาต่าง ๆ ของการทำงานในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น ทั้งกระบวนการทำงานแบบอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ (Factory & Service) ซึ่งทักษะการวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause Analysis เป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้วิธีการที่ตรงประเด็นต่อปัญหาที่เกิดขึ้น การพัฒนาทักษะดังกล่าวส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ มีความเป็นระบบ มีขั้นตอนและมีเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ จึงนับว่าการพัฒนาทักษะดังกล่าวเป็น “<strong>การป้องกันการแก้ปัญหาแบบไม่สมเหตุผล</strong>” ที่เกิดจากการนึกคิดเองของผู้ปฏิบัติงานไปด้วยในตัว</span></p> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause Analysis ให้เกิดประสิทธิภาพสูงต้องมีเครื่องมือ เทคนิค และข้อกำหนด 7 ประการ โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ </span></p> <ul> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">หลักการระดมสมองอย่างถูกต้อง (Brainstorming)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">แผนผังต้นไม้ประเภท Why – Why Diagram</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เทคนิคการตั้งคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Why Technique)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 1</span>: ความชัดเจนกับปัญหา (Specification)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 2</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 1 (MECE Technique Type I)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 3</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 2 (MECE Technique Type II)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 4</span>: การค้นหาถึงรากสาเหตุ (Root Cause with 5 Why Technique)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 5</span>: ความสมเหตุสมผลแบบแท้จริงและไม่แท้จริง (Reasonableness Cause)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 6</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุจากสภาพจิตใจ (Emotional Cause)</span></li> <li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 7</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุนามธรรม (Abstract Cause)</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis และเรียนรู้หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา โดยเรียนรู้ด้วยโมเดล “สาเหตุและผลกระทบ” (Cause and Effect) และ “ความมีเหตุผล” (Reasonableness) </span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis ด้วยการใช้เครื่องมือ เทคนิคและข้อกำหนดที่จำเป็น 7 ประการ โดยเรียนรู้ด้วยปัญหาจริงของผู้เรียน</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานของการวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause Analysis</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่ของสมองก่อนการเรียนรู้</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการทำงานของสมองและพฤติกรรมแก้ปัญหา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการวิเคราะห์ด้วย Root Cause Analysis</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์ Root Cause Analysis</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt;">สาเหตุ</span> <span class="fa fa-arrow-right" style="color: #000000; font-size: 12pt;"></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ผลกระทบ (Cause </span><span class="fa fa-arrow-right" style="color: #000000; font-size: 12pt;"></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> Effect)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt;">ความมีเหตุผล (Reasonableness)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt;">การตั้งคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Why Technique)</span></li> </ul> </li> </ul> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความสำคัญของการระบุความชัดเจนของปัญหา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ข้อกำหนดสำคัญสำหรับการระบุปัญหา</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">กรณีศึกษา</span>: เรียนรู้การระบุปัญหาให้ชัดเจน</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคของการแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการระดมสมองอย่างถูกต้อง (Brainstorming)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แผนผังต้นไม้ประเภท Why – Why Diagram</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคการตั้งคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Why Technique)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ตารางประกอบการตั้งคำถาม 5 ครั้ง (5 Why Table)</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt;">ระดับของสาเหตุและมาตรการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า </span></li> </ul> </li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ข้อกำหนด 7 ประการของการแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis</span><br /> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 1</span>: ความชัดเจนกับปัญหา (Specification)<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 2</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 1 (MECE Technique Type I)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 3</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 2 (MECE Technique Type II)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 4</span>: การค้นหาถึงรากสาเหตุ (Root Cause with 5 Why Technique)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 5</span>: ความสมเหตุสมผลแบบแท้จริงและไม่แท้จริง (Reasonableness Cause)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 6</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุจากสภาพจิตใจ (Emotional Cause)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 7</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุนามธรรม (Abstract Cause)</span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I</span>: การวิเคราะห์ Root Cause Analysis ของผู้เรียน</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การกำหนดมาตรการแก้ปัญหาหลัง Root Cause Analysis</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือประกอบการสร้าง Corrective Action Plan</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II</span>: การกำหนดมาตรการแก้ปัญหาหลังการทำ Activity I</span></li> </ul> <span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาทักษะ Root Cause Analysis อย่างยั่งยืน</span> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการเลือกปัญหาในกระบวนการ</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด “Knowledge is not Understanding”</span></li> </ul> </blockquote> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" /> public@bananatraining.com</a></span></p> <p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" /> <a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p> </div> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> </span></p> [image] => [schedule] => 0 [start_date] => 2018-09-25 12:08:00 [end_date] => 2018-09-25 12:08:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 3900.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2018-09-25 19:18:06 [comment_status] => 0 [viewed] => 48400 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) [11] => Array ( [article_id] => 57241 [category_id] => 2996 [title] => อ.ธเนศ นวะบุศย์ [category_name] => Trainers & <span class="text-colored">Consultants</span> [category_description] => <p style="text-align: justify;">วิทยากรคุณภาพ ประสบการณ์พัฒนาบุคลากรและองค์กรโดยตรง มีความรู้เชิงทฤษฎี เข้าใจบุคลากรเชิงพฤติกรรม ออกแบบหลักสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการขององค์กร</p> [category_image] => [description] => Financial Trainer [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ประวัติอาจารย์ธเนศ นวะบุศย์<br /></strong></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4"> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/o_1b9d94b3d1pvenu81hij1pvmqnb.jpg" width="235" height="225" /></strong></span></p> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong><a class="btn btn-default btn-primary" href="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/Profile%20%E0%B8%AD.%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C_BananaTraining.pdf" rel="noopener" target="_blank">Download Trainer Profile</a></strong></span></p> </div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">อ.ธเนศ นวะบุศย์ หรือ โค้ชอู๋ มีความเชี่ยวชาญด้านการเงินและสินเชื่อ<br /></span></div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">A) โดยเน้นกลุ่มผู้ประกอบการ SME เป็นพิเศษ โดยเฉพาะเรื่องเทคนิคในการจัดหาเงินกู้จากสถาบันการเงิน ซึ่งผู้ประกอบการจะสามารถสร้างแผนธุรกิจประกอบการขอสินเชื่อได้</span></div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">B) ทราบเทคนิคในการเตรียมข้อมูลต่าง ๆ ในการนำเสนอกับสถาบันการเงิน ซึ่งจะตรงกับที่สถาบันการเงินต้องการ</span></div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">C) ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดคือจะทำให้ท่านสามารถยื่นขอสินเชื่อได้โดยง่าย สามารถหาแหล่งเงินทุนมาเสริมสภาพคล่องของกิจการที่ถูกต้อง <br /></span></div> <div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">D) รู้จักการจัดสรรหรือบริหารเงินของตนให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมภายใต้ศักยภาพของความสามารถในการชำระหนี้ได้อย่างชัดเจน<span style="color: #000000;"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></span></span></div> <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12"> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">ประวัติการศึกษาและการฝึกอบรม</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Dhurakijpundit University, Master of Business Administration, Major Management and Organization<br /></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">The University of the Thai Chamber of Commerce, Bachelor of Business Administration,<br /></span></span> <p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Major Finance Management</span></p> </li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Trade Finance and Fraud</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Selling and Negotiation Skills</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Corporate Finance</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Account Management and Credit Evaluation</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Loan Workout Workshops</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Statement of Cash flows Workshop</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Skills Assessment Exam by Omega Performance Corporation passed all 15 modules (FAB & CLB)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Moody’s Financial Analyst and Moody’s Risk Advisor (MFA & MRA)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Mini-Certified Investment & Securities Analyst Program (MINI-CISA)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Successful Presentation Technique</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Training the Trainer</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Banking the SME Sector Through Better Credit Analysis (Certificate from UNI Strategic Pte Ltd Hong Kong)</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ตำแหน่งงานปัจจุบัน</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการเงิน<br /></span><span style="font-size: 12pt;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">(Financial</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> Trainer and Consultant</span>)</span></span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li> <li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Vice President, Credit Underwriter</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ประสบการณ์ทำงาน</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">An executive with over 25 years of banking experience in the Corporate Banking Department, Kasikorn bank.</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Chandrakasem Rajabhat University</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Suan Dusit Rajabhat University</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">The University of the Thai Chamber of Commerce</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Mahanakorn University of Technology</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">National Institute of Development Administration (NIDA)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Export-Import Bank of Thailand (EXIM Bank)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Minor Food Group</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Bank of Thailand (BOT)</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Kasikorn Bank (KBank)</span></li> </ul> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;"> <h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความเชี่ยวชาญในสายงานฝึกอบรมและที่ปรึกษา</span></h4> </blockquote> <blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"> <ul> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Management</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Organization and Management</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Principle of Planning</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Human Resources Management and Development</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Business Policy and Strategic Management</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Business Ethics</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Management and Analyze</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">SME Finance Facility</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Risk Management</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Validation and Risk Assessment</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Loan Monitoring</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Risk Management Framework</span></li> <li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Fundamental for SME</span></li> </ul> </blockquote> <div class="table-responsive"> <table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;"> <tbody> <tr> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C7.JPG" width="250" height="auto" /></td> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C8.JPG" width="250" height="auto" /></td> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C9.JPG" width="250" height="auto" /></td> </tr> <tr> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C11.JPG" width="250" height="auto" /></td> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C12.JPG" width="250" height="auto" /></td> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C13.JPG" width="250" height="auto" /></td> </tr> <tr> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/1.jpg" width="250" height="auto" /></td> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/2.jpg" width="250" height="auto" /></td> <td style="width: 33%; height: auto;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/3.jpg" width="250" height="auto" /></td> </tr> </tbody> </table> </div> </div> [image] => o_1ehmhvuoj1s8g3ruao5ip16o6b.jpg [schedule] => 0 [start_date] => 2017-02-17 14:06:00 [end_date] => 2017-02-17 14:06:00 [tags] => [seo] => 0 [price] => 0.00 [meta_title] => [meta_keywords] => [meta_description] => [mdate] => 2020-09-08 17:47:24 [comment_status] => 0 [viewed] => 4895 [status] => 1 [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"} ) )
สมัครคอร์ส
อ่านต่อสมัครคอร์ส
อ่านต่อสมัครคอร์ส
อ่านต่อราคา 4,200 บาท/ท่าน
544
สมัครคอร์ส