Array
(
    [0] => Array
        (
            [article_id] => 52754
            [category_id] => 3152
            [title] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์
            [category_name] => Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C.jpg" width="818" height="350" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คุณต้องการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพหรือไม่? ถ้าคำตอบคือ &ldquo;ไม่&rdquo; บทความนี้อาจมีประโยชน์กับคุณเพียงเล็กน้อย แต่ถ้าคำตอบคือ &ldquo;ใช่&rdquo; การบริหารเวลาเชิงประสิทธิภาพต้องการความมุ่งมั่นทางจิตใจของคุณอย่างมากที่สุด แต่ก่อนอื่นคุณควรตั้งคำถามง่าย ๆ กับตนเองก่อนว่า &ldquo;คุณอยากนำเวลาที่มีอยู่หรือที่สร้างเพิ่มขึ้นมาไปใช้กับอะไร&rdquo; คำตอบที่ได้จะสะท้อนการมีหรือไม่มี &ldquo;เป้าหมาย&rdquo; ที่ชัดเจนของคุณ คุณอาจจะเกิดคำถามว่า แล้วมันไปเกี่ยวอะไรกับเป้าหมาย แค่ทำงานให้เสร็จตามกำหนดของหัวหน้า ส่งรายงานตามกำหนดการมอบหมาย แค่นั้นก็น่าจะพอแล้วนะ ถูกต้องครับ!!! ถ้าคุณมีเป้าหมายแค่นั้น แต่ถ้าคุณต้องการมากกว่านั้น เราควรเริ่มต้นกันเลยดีกว่า</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เวลานับว่าเป็นสินทรัพย์อย่างหนึ่งที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอยู่ตลอดเวลา ไม่มีใครหยุดมันได้ มีปริมาณเท่ากันใน 1 รอบสมมติคือ 24 ชั่วโมง คุณมีเวลาจำกัดใน 1 รอบสมมติ คุณใช้เวลาอย่างไรนั้น มันมีผลกระทบต่ออนาคตในทุกมิติของคุณ ดังนั้นการบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กล่าวอย่างรวบรัดมีเพียงแค่ 2 ประเด็นคือ เทคนิคและเป้าหมาย และอีก 1 ความมุ่งมั่นของจิตใจเป็นหลักการเบื้องต้นของการบริหารเวลาให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ เป้าหมายเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกของการบริหารเวลา คุณจะไม่สามารถจัดสรรและบริหารเวลาได้เลย จนกว่าคุณจะตัดสินใจอย่างชัดเจนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายระยะสั้นตั้งแต่หนึ่งวันจนถึงหนึ่งปี หรือเป้าหมายระยะยาวคือมากกว่าหนึ่งปีขึ้นไป และที่สำคัญเป้าหมายระยะสั้นในแต่ละช่วงต้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน และสอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวจึงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด เพราะทำให้เราทุ่มเทหนึ่งครั้ง ส่งผลกระทบหลายด้าน</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;การบริหารเวลาหมายถึง ความสามารถในการใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ &rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 8 ประการ ของการบริหารเวลาเพื่อให้ชีวิตมีประสิทธิภาพ</span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความชัดเจนต่อเป้าหมาย (Goals, Objectives or Targets)</strong> เป็นสิ่งแรกที่จำเป็นและสำคัญที่สุด คุณไม่สามารถจะขึ้นโดยสารคันไหนได้เลยถ้าคุณไม่รู้ว่าตนเองต้องการจะไปที่ไหน ดังนั้นคุณต้องคิดก่อนว่าคุณต้องการอะไรกันแน่ในชีวิตทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตัวอย่างของผมคือ &ldquo;ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ (Independent Study &ndash; IS) ได้ระดับดีมากและสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจได้ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2&rdquo; ขอให้สังเกตว่าเป้าหมายที่ผมเขียนนั้นมีลักษณะเด่น 5&nbsp; ประการ (STAVE - ตีแตกเป้าหมาย)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;A. มีการระบุอย่างชัดเจน (Specific - ความต้องการของผมชัดเจน)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;B. มีกำหนดระยะเวลา (Time - ภายในเทอมสุดท้ายของชั้นปีที่ 2)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;C. มีโอกาสสำเร็จได้จริง (Attainable - ผมประเมินตนเองว่าทำได้)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;D. มีความสำคัญต่อผู้กำหนดเป้าหมาย (Value &ndash; ต่อยอดธุรกิจของผมได้)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;E. เกิดประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์กับตนเอง (Experience - ผมใช้ประสบการณ์นี้ในอนาคตได้)&nbsp;</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;คุณต้องตีเป้าหมายให้แตก ดังนั้นคุณควรตั้งเป้าหมายด้วยแนวคิด STAVE&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อคุณมีเป้าหมายแล้ว คุณต้องมีวิธีการบรรลุเป้าหมาย และทุกวิธีการต้องใช้เวลา<strong> &ldquo;เป้าหมาย - วิธีการ - เวลา&rdquo;</strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) การสร้างความตระหนักรู้การใช้เวลา (Awareness)</strong> คุณจะตระหนักรู้ได้ คุณต้องบันทึกการใช้เวลาของคุณใน 24 ชั่วโมง ประมาณ 1 สัปดาห์ มันจะทำให้คุณรู้ว่าแต่ละวันคุณใช้เวลาไปกับกิจกรรมอะไรบ้าง การทำเช่นนี้ช่วยให้คุณวิเคราะห์ได้ว่า คุณกำลังใช้เวลาไปกับกิจกรรมที่ถูกต้องเพื่อการบรรลุเป้าหมายหรือไม่ เมื่อคุณเริ่มตระหนักรู้ คุณจะค้นพบประเด็นบางอย่างที่สามารถปรับปรุงการใช้เวลาได้ เช่น ผมดูยูทูปตอนดึกมากเกินไปทำให้ผมตื่นแต่เช้ามืดมาอ่านหนังสือไม่ได้ (การอ่านหนังสือเป็นกิจกรรมที่อยู่ใน To do list ที่ผมวางไว้เพื่อบรรลุเป้าหมาย)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) การตัดสินใจเลือก (Decision Making)</strong> เมื่อคุณตั้งเป้าหมาย (เป้าหมาย - วิธีการ - เวลาที่ใช้) และวิเคราะห์การใช้เวลาแล้ว สำหรับผมแล้วการตัดสินใจเลือกคือส่วนที่ยากที่สุด เพราะคุณต้องใช้พลังใจอย่างสูงต่อการไม่ทำหรือลดบางอย่างที่ชอบ และฝืนใจตนเองไปทำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย ถ้าคุณผ่านจุดนี้ไปได้คุณจะมีความภาคภูมิใจตนเองสูงขึ้น และวางแผนแล้วไม่นิ่ง (Plan แล้วนิ่ง)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) ค้นหาความมีประสิทธิภาพของเวลา (Time Efficiency)</strong> การบริหารเวลาให้มีประสิทธิภาพ เวลาแต่ละชั่วโมงของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ตอนไหนที่คุณมีพลังงานสูงสุด ใช้มันจัดการกับงานยาก ๆ แนวคิดนี้จะทำให้คุณได้ผลสำเร็จของงานในระยะเวลาสั้น กุญแจสู่ความมีประสิทธิภาพของเวลาคือ การมีสมาธิจดจ่อกับการใช้พลังงานมากกว่าการจดจ่ออยู่กับกำหนดเวลา&nbsp; และตอนไหนพลังงานคุณน้อย แนะนำว่าให้นำไปใช้กับงานที่ไม่ต้องใช้ความคิดเยอะ แต่ใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายเยอะกว่า แต่อย่าลืมว่าคุณจะมีสมาธิและพลังงานสูง คุณต้องพักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่มากหรือน้อยเกินไป</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) สร้างเวลาเพิ่มเติม</strong> แม้ว่าเวลามีปริมาณจำกัด แต่คุณสามารถทำให้มันเพิ่มได้ คุณควรคิดทบทวนแต่ละกิจกรรมระหว่างวันในหนึ่งสัปดาห์ อาจมีช่องว่างให้คุณเติมกิจกรรมเล็ก ๆ ลงไปได้ เช่น ผมชอบใช้เวลา &frac12; ชั่วโมง อ่านหนังสือขณะรอเรียนที่มหาวิทยาลัย ไม่ใช้หมดไปกับการรับประทานอาหารเพียงอย่างเดียว ดังนั้นในหนึ่งสัปดาห์ผมได้เวลาเพิ่มขึ้นอีก 1.5 ชั่วโมง สำหรับการอ่านหนังสือ ซึ่งกิจกรรมนี้ส่งผลต่อเป้าหมายของผมด้วย&nbsp;</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) อย่าผัดวันประกันพรุ่ง</strong> วันนี้ก่อนเข้าบ้านตั้งใจไปเติมน้ำมันให้เต็มถัง สังเกตเห็นป้ายข้อความว่า พรุ่งนี้น้ำมันลด 2 บาท จึงเปลี่ยนใจไปเติมวันพรุ่งนี้ เมื่อไปเติมเต็มถัง แปลกใจว่าทำไมเด็กปั๊มคิดราคาเท่าเดิม เด็กปั๊มชี้ไปที่ป้ายแล้วบอกว่า &ldquo;พรุ่งนี้ไม่มีวันมาถึง มีแต่วันนี้เท่านั้น&rdquo; การผัดวันประกันพรุ่งคือ นักฆ่าเป้าหมาย ดังนั้นจงบังคับตัวองด้วยการกำหนด Action Plan (แผนลงมือกระทำจริงจัง ไม่เป็นนามธรรม) แล้วลงมือทำทันที</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>7) จัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม</strong> ความไร้ระเบียบของสภาพแวดล้อมในการทำงานส่งผลต่อระเบียบความคิดภายในจิตใจ คุณต้องสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้จิตใจมีพลังงานสูง (อ่านต่อบทความเทคนิคการจัดระเบียบความคิดและสภาพแวดล้อม)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>8) วางแผนพร้อมลุย</strong> การวางแผนคือการตัดสินใจล่วงหน้าในสิ่งที่คุณต้องทำเพื่อบรรลุเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด แสดงว่าเราควรวิเคราะห์ล่วงหน้าว่าจะทำอะไร อย่างไร ที่ไหน เมื่อไร แล้วมันตอบเป้าหมายของคุณ เทคนิคที่ต้องใช้คือ</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;A. TO DO LIST เขียนกิจกรรมสำคัญที่ต้องทำต่อการบรรลุเป้าหมาย </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;B. Priority จัดลำดับงาน โดยเลือกทำงานสำคัญก่อน คุณอาจใช้หลัก ABC หรือแนวคิดสำคัญเร่งด่วนก็ได้</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp; &nbsp; &nbsp;C. 80 : 20 Rule แนวคิดที่สร้างความคล่องตัวในการทำงานคือ การลงมือทำน้อย แต่ได้รับผลมาก คุณไม่ต้องทำทุกเรื่อง แต่เลือกทำเฉพาะในลิสต์ที่<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ทำให้คุณบรรลุเป้าหมาย จงเรียนรู้การกำหนดสิ่งสำคัญที่ต้องทำ และตัดสิ่งไม่จำเป็นออกให้หมด ควรถามตนเองบ่อย ๆ ว่า &ldquo;อะไรที่เราต้องทำ 20% แล้วให้ผลลัพธ์แก่เรา 80%&rdquo;</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเพียงแค่ลงมือทำตามหลักการ 8 ข้อ คุณสามารถบริหารเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพแน่นอน แต่ทั้งหมดต้องอยู่พื้นฐานของความมีสมาธิ เหตุผลข้อหนึ่งของคนจำนวนมากทำสิ่งต้องการได้จนสำเร็จมีน้อยมาก เพราะว่าพวกเขาไม่เคยควบคุมสมาธิของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง จึงทำให้การใช้สมาธิของเขาไม่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นจงฝึกทำอะไรให้สำเร็จทีละอย่าง และอย่ามีความเข้าใจผิดว่าทำงานหลายอย่างพร้อมกันจะเกิดสมาธิ </span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1c4en7fmd18ft12an1eoo13b0pdjb.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [end_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-10-16 18:58:48
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 18345
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [1] => Array
        (
            [article_id] => 52757
            [category_id] => 3152
            [title] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
            [category_name] => Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%8A.jpg" width="818" height="350" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เนื้อหาบทความ&nbsp;<span>เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ&nbsp;เนื้อหาบทความ</span></span></blockquote>
</div>
<p>&nbsp;</p>
            [image] => o_1et99fb3k1g2eb671p30noo1rmfb.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [end_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2021-02-04 12:23:40
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 13616
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [2] => Array
        (
            [article_id] => 52755
            [category_id] => 3152
            [title] => ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process)
            [category_name] => Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process)
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process)<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/articles/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%8A.jpg" width="818" height="350" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ผู้นำคือใครบางคนที่มีคนยอมเดินตาม ปฏิบัติตาม หรือเชื่อในความคิดความอ่านอย่างในตัวผู้นำอย่างเต็มใจ ดังนั้นใครมีตำแหน่งหัวหน้า แต่ไม่มีลูกน้อง จึงยังไม่ใช่ผู้นำ เพราะผู้นำต้องมีคนเดินตาม หรือถ้าหัวหน้ามีลูกน้อง และลูกน้องทำงานเพราะตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย แต่ใจไม่เชื่อถือหรือศรัทธาในตัวหัวหน้า กล่าวได้ว่าหัวหน้าคนนั้นยังไม่ใช่หัวหน้าแบบ &ldquo;ผู้นำ&rdquo; เป็นเพียงหัวหน้าแบบ &ldquo;ตำแหน่ง&rdquo;</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การเป็นผู้นำเป็นเรื่องสลับซับซ้อนและมีองค์ประกอบมากมาย มีพฤติกรรมหรือการกระทำที่ผู้นำต้องแสดงออก โดยสามารถยกเป็นตัวอย่าง อาทิเช่น การมีวิสัยทัศน์ การมีเป้าหมาย การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความยุติธรรม การแก้ปัญหา และอื่น ๆ อีกมาก ซึ่งความสามารถส่วนใหญ่ล้วนมองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้ ดังนั้นการพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership Development) จึงควรมีระบบและกำหนดทิศทางให้ชัดเจน</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ในการบรรยายหลักสูตร &ldquo;การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำอย่างเป็นระบบ&rdquo; (Systematic Leadership Development) ผมมักจะสอดแทรกกฎของผู้นำ 3 เรื่อง ดังนี้ 1) กฎของการสะสม (The Law of Process) 2) กฎของการฝึกฝน (The Law of Practice) และ 3) กฎของการซึมซับ (The Law of Absorption)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กฎของการสะสม กล่าวว่า &ldquo;การเป็นผู้นำต้องสร้างทุกวัน ไม่ใช่สร้างแค่วันเดียวเลิก แต่ต้องใช้เวลาทั้งชีวิต&rdquo; โดยนัยยะคือการสะสมความเป็นผู้นำต้องทำอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าบางคนจะเกิดมาพร้อมกับพรสวรรค์ที่เหนือกว่าคนอื่น แต่ความสามารถในการเป็นผู้นำ ต้องอาศัยการสะสมทักษะหลายอย่าง และทักษะเกือบทุกอย่างสามารถเรียนรู้และพัฒนาให้ดีขึ้นได้ ดังนั้นผู้นำต้องมีความสามารถและแรงจูงใจในการเรียนรู้ (Ability and Motivation to Learn) เพื่อใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงทักษะของตนเองให้ดีขึ้น แต่กระบวนการนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงแค่ชั่วข้ามคืน ต้องลงมือทำทุกวันอย่างต่อเนื่อง </span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;กฎของการสะสม กล่าวว่า &ldquo;การเป็นผู้นำต้องสร้างทุกวัน ไม่ใช่สร้างแค่วันเดียวเลิก แต่ต้องใช้เวลาทั้งชีวิต&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&ldquo;กฎของการสะสม&rdquo; ให้ลองนึกถึงการสร้างบารมีของพระพุทธเจ้า ต้องสะสมกันหลายภาพหลายชาติจนกว่าบารมีจะเต็ม แต่การสะสมภาวะความเป็นผู้นำไม่ต้องทำกันยาวนานขนาดนั้น ไม่อย่างนั้นจะท้อแท้หมดกำลังใจกันไปก่อน การเป็นผู้นำก็เหมือนกับการลงทุน ต้องสะสมและสร้างค่าให้กับตนเอง ลงทุนพัฒนาตนเองให้เก่งขึ้นทุกวัน (เปรียบเสมือนซื้อหุ้นพื้นฐานดี ซื้อสะสมไปเรื่อยๆ) และนำสิ่งที่ได้รับการพัฒนาแล้ว นำไปแก้ปัญหาในงาน ทีมงาน และองค์กร เพื่อให้ตนเองมีความน่าเชื่อถือหรือเกิดความศรัทธาในสายตาลูกน้องและเพื่อนร่วมงาน ถ้าพูดกันในเชิงภาวะผู้นำแบบไทยๆ คือจะเป็นผู้นำคน ต้องหมั่นสร้างบารมีอย่างสม่ำเสมอ </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">แต่เดี๋ยวก่อนแล้วครับ จะให้สะสมและสร้างค่าอะไรจึงจะเป็นผู้นำที่ดีได้? ดังนี้ก่อนสะสมอะไร เราควรมีหลักการพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ 4 ระยะ</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 1) ยอมรับ</strong> - ก่อนจะเป็นผู้นำที่ดี คุณต้องเปิดใจยอมรับก่อนว่า คุณยังไม่รู้อะไรอีกหลายเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาภาวะผู้นำ ยอมทำตัวเป็นเด็กเลี้ยงควาย ถ้าคิดว่าตนเองเก่งแล้ว ย่อมพัฒนาได้ยาก <br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 2) สำรวจ</strong> &ndash; ให้สำรวจตนเองว่าควรเรียนรู้อะไรบ้าง ควรปรับพฤติกรรมอะไรบ้าง ที่ทำให้ภาวะผู้นำเราดีขึ้นในสายตาลูกน้อง ดังคำกล่าวว่า &ldquo;การรู้ตัวว่าคุณไม่รู้อะไรอีกตั้งเยอะ เป็นก้าวสำคัญที่นำไปสู่การเรียนรู้&rdquo;<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 3) เริ่มพัฒนา</strong> &ndash; จงเริ่มพัฒนาความเป็นผู้นำจากสิ่งที่คุณสำรวจตั้งแต่วันนี้ แล้วคุณจะเห็นผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์ด้วยตนเอง ให้คิดเสมอว่า &ldquo;จะเป็นผู้นำวันพรุ่งนี้ ต้องเริ่มวันนี้ และต้องเตรียมพร้อมตลอดเวลา&rdquo;<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ระยะที่ 4) ทำจนกลายเป็นนิสัย</strong> &ndash; เคล็ดลับไม่มี ให้ฝึกฝนเรื่องที่คุณอยากพัฒนาจนกลายเป็นนิสัยของคุณ จนกลายเป็นความเคยชิน ผมขอย้ำอีกครั้งว่า!!! ไม่มีเคล็ดลับ การฝึกฝนทำให้คนเป็นเลิศ และเราจะเรียนรู้เรื่องนี้อีกครั้งในหัวข้อ กฏของการฝึกฝน (The Law of Practice)</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> &ldquo;การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำ 4 ระยะ ดังนี้ 1) ยอมรับ, 2) สำรวจ, 3) เริ่มพัฒนา และ 4) ทำจนกลายเป็นนิสัย&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img style="display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;" src="../../sites/10292/files/u/articles/backcountry-skiiing-2289970_1920.jpg" alt="" width="650" /></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เมื่อคุณตั้งเป้าหมายในการสะสมทักษะและประสบการณ์ต่าง ๆ แล้ว ตอนนี้ต้องใช้ความมีวินัย (Discipline) ความพยายาม (Effort) และการจัดการอารมณ์ตนเองเป็นอย่างมาก (EQ) เพื่อให้เป้าหมายประสบความสำเร็จ โดยธรรมชาติคุณมีแนวโน้มจะล้มเลิกกลางคัน ดังนั้นแรงจูงใจในการเรียนรู้ (Motivation to Learn) จะเป็นสิ่งสำคัญมากในการผลักดันให้เป้าหมายสำเร็จ คุณต้องตอบตัวเองให้ได้ว่า คุณทำสิ่งนั้นไปทำไม คุณไม่อยากเป็นผู้นำแล้วเหรอ หรือแท้จริงแล้ว คุณชอบที่จะเป็นผู้ตามมากกว่า </span></p>
<p><span style="color: #ff6600;">(เครดิตข้อมูล: 21 กฎเหล็กแห่งการเป็นผู้นำ, John C. Maxwell)</span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1etloifjmf2o1du86qo1jet1gu1b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [end_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2021-02-04 12:57:19
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 13252
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [3] => Array
        (
            [article_id] => 52758
            [category_id] => 3152
            [title] => ผู้นำกับ Growth Mindset
            [category_name] => Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => ผู้นำกับ Growth Mindset
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ผู้นำกับ Growth Mindset<br /></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/articles/8)%20%E0%B8%89%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2.jpg" width="818" height="350" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="font-size: 12pt;"><strong><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เรียนรู้ Growth Mindset จากเรื่องจริง</span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีเด็กหนุ่มคนหนึ่ง เขาไม่เพียงเกิดในครอบครัวยากจน แต่ยังโชคร้ายที่มีคุณพ่อที่ขี้เมาและมีทัศนคติลบตลอดเวลา เวลาเมาก็ชอบทำร้ายแม่ และชอบบอกกับตัวเองเสมอว่า &ldquo;คนที่เกิดในสลัม โตในสลัม ก็ต้องตายในสลัม&rdquo; ไม่เพียงแค่บอกตัวเองเท่านั้น พ่อยังบอกกับเด็กหนุ่มด้วยว่า &ldquo;ลูกเอ๋ย!!! จะไปเรียนหนังสือทำไม อนาคตยังไงก็ต้องจบในสลัม ชะตาฟ้าลิขิตมาแล้วว่าต้องเป็นแบบนี้ ถ้าเขาอยากจะให้เจ้าได้ดี เขาต้องให้เจ้าไปเกิดในที่ดี ๆ ไปแล้ว เข้าใจมั๊ย&rdquo; <br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ชีวิตยังไม่โชคร้ายซะทีเดียว เด็กหนุ่มมีคุณแม่ที่มีความเชื่อหรือแนวคิดที่ดี (Mindset) เธอคอยสอนลูกชายว่า &ldquo;เกิดที่ไหนไม่สำคัญ สถานภาพเป็นอย่างไรไม่สำคัญ สำคัญว่าตั้งใจจะเป็นอะไรต่างหาก วันนี้เป็นอย่างไรไม่สำคัญ สำคัญว่าอนาคตจะเป็นอย่างไรต่างหาก&rdquo;<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">พ่อพูดอย่างหนึ่ง แม่พูดอย่างหนึ่ง ไม่รู้จะเชื่อใครดี? คุณที่กำลังอ่านบทความนี้อยู่ คิดว่าเด็กหนุ่มจะเชื่อใคร<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยธรรมชาติของจิตย่อมมุ่งลงไปสู่ที่ง่ายกว่าเสมอ ถ้าเลือกได้เราจะเลือกทำในสิ่งที่ง่ายกว่าเสมอ เชื่อพ่อง่ายกว่าเชื่อแม่ เด็กหนุ่มจึงดำเนินชีวิตตามที่พ่อสอน เขาตั้งใจเรียนได้สักพัก เริ่มขี้เกียจ คิดว่าตั้งใจเรียนไปก็เท่านั้น อนาคตคงเอาดีไม่ได้ ยังไงก็ต้องอยู่แต่ในสลัม สุดท้ายก็เป็นนักเรียนนักเลง และถูกไล่ออกจากโรงเรียน เมื่อใช้ชีวิตทำงาน หัวหน้าพูดจาผิดหูหน่อยก็ไม่พอใจ ในที่สุดจึงตกงานครั้งแล้วครั้งเล่า จนกระทั่งอายุ 35 ปี มีครอบครัว มีลูก ชีวิตยากจนถึงขั้นว่าไม่มีแม้แต่นมหรืออาหารจะให้ลูกกิน</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;โดยธรรมชาติของจิตย่อมมุ่งลงไปสู่ที่ง่ายกว่าเสมอ ถ้าเลือกได้เราจะเลือกทำในสิ่งที่ง่ายกว่าเสมอ&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">โชคชะตายังปราณี วันหนึ่งคิดขึ้นมาได้ว่า เชื่อพ่อมาตลอด 35 ปี ชีวิตไม่มีอะไรดีขึ้น มีแต่จะแย่ลง ๆ เราแย่ไม่เป็นไร แต่ลูกจะมีพ่อที่แย่ไม่ได้ ถ้าอย่างนั้นเราลองเชื่อแม่บ้างดีกว่า ไม่มีอะไรเสียหาย เราจะลองทำตามที่แม่บอกว่า &ldquo;เกิดมาจน หมายความว่าต้องทุ่มเทมากกว่าคนอื่น ต้องพยายามมากกว่าคนอื่น&rdquo;</span><br /><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"></span></p>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">ทันทีที่คุณเปลี่ยนความคิด (Mindset) ชีวิตที่เหลือของคุณจะเปลี่ยนไป เขาเริ่มหางานทำ แต่สภาพร่างกายที่ดูโทรมของเขา ทุกที่จึงปฏิเสธเขาหมด ทุกครั้งที่ถูกปฏิเสธงาน เขามีความรู้สึกท้อมาก วันหนึ่งมาหยุดอยู่หน้าโชว์รูมรถยนต์ มองเห็นพนักงานขายรถที่ดูแลคิวลูกค้าของตนเอง ลูกค้าเดินเข้ามาก็ไปดูแล แล้วพยายามขาย เขาบอกกับตัวเองว่า แค่ขายรถคงไม่ยาก จึงตัดสินใจเดินเข้าไปสมัครงานกับผู้จัดการโชว์รูม เขาได้รับการปฏิเสธเพราะเรียนไม่จบ ไม่มีประสบการณ์ขาย ไม่มีความรู้เรื่องรถ และขับรถไม่เป็น ไม่ว่าเขาจะร้องขออย่างไร ผู้จัดการก็ปฏิเสธ สุดท้ายได้งานเพราะลูกตื๊อ และจากการให้โอกาสของผู้จัดการ แต่อยู่บนเงื่อนไขว่า ทางโชว์รูมไม่มีเงินเดือนให้ ถ้าขายได้จึงจะให้คอมมิชชั่น</span></p>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">วันแรกของการขาย เขาจำได้แค่เพียงว่าลูกค้าเป็นเซลส์ขายน้ำอัดลม หน้าตาเป็นอย่างไรและชื่ออะไรจำไม่ได้เลย ในหัวมีแต่ความคิดว่า &ldquo;ขายได้มีข้าวกิน ขายไม่ได้ไม่มี&rdquo; เขาพยายามเต็มที่กับความรู้ที่มี โชคชะตาเข้าข้าง วันนั้นเขาขายได้ เขาขอเบิกคอมมิชชั่นล่วงหน้าและซื้ออาหารกลับบ้าน วันนั้นเป็นวันที่เขามีความสุขที่สุด เขาบอกกับตนเองว่า &ldquo;ขนาดไม่รู้อะไรเลยยังขายได้ ถ้ารู้มากกว่านี้ มันน่าจะยิ่งขายได้สิ น่ากลัวแม่คงพูดถูกว่าที่เกิดมาจน หมายความว่าต้องพยายามมากกว่าคนอื่น วันหนึ่งจะภูมิใจมากกว่าคนอื่น&rdquo;</span><br /><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"></span></p>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">คืนนั้นเขานอนไม่หลับ คิดใคร่ครวญกับเรื่องราวของชีวิตที่ผ่านมาทั้งหมด ตื่นเช้าขึ้นมาบอกกับตนเองว่า &ldquo;เราก็ดีได้นะ ไม่มีความรู้ยังขายได้ ถ้ามีความรู้จะเป็นอย่างไร ไหน ๆ จะทำแล้ว ทำไมไม่ทำให้ดีที่สุดล่ะ&rdquo;</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ทันทีที่คุณเปลี่ยนความคิด (Mindset) ชีวิตที่เหลือของคุณจะเปลี่ยนไป&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เขาเริ่มเรียนรู้ทุกอย่างที่จำเป็นต่องานขาย ไม่ว่าจะเป็นความรู้สินค้า วิธีการขายจากเซลส์ที่เก่งที่สุดในโชว์รูม การดูแลลูกค้า การทำให้ลูกค้าประทับใจ ใช้ความพยายามอย่างสูงมาก จนผลงานขายดีขึ้นเป็นลำดับ กลายเป็นยอดนักขายอันดับหนึ่งของโชว์รูม ของเมือง ของรัฐ และของประเทศ คนเดียวที่สามารถทำลายสถิติของเขาได้ตลอด 11 ปี คือตัวเขาเอง จากเด็กหนุ่มที่ล้มเหลวมาตลอด 35 ปี ได้รับเกียรติจารึกชื่อลงในหนังสือ Guinness Book of World Record ว่าเป็น <strong>&ldquo;สุดยอดนักขายอันดับหนึ่งตลอดกาลของโลกชื่อ โจ จิราด (Joe Girard)&rdquo;</strong> </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" style="display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;" src="../../sites/10292/files/u/articles/joepoland6.jpg" width="650" /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เรื่องราวนี้สอนให้รู้ว่า ทันทีที่คุณเปลี่ยนความคิดหรือความเชื่อของคุณ (Mindset) การกระทำของคุณจะเปลี่ยนไปทันที (Behavior) โจ จิราด ในช่วงก่อนอายุ 35 ปี เป็นคนที่มีกรอบความคิดแบบตายตัว (Fixed Mindset) หมายถึง เขาเชื่อว่าคุณสมบัติของตนเองเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่โจ จิราด ในช่วงหลังจากอายุ 35 ปี เป็นคนที่มีกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) หมายถึง เขาเชื่อว่าคุณสมบัติของตนเองเป็นสิ่งที่สามารถพัฒนาได้ด้วยความพยายาม ถึงแม้ว่าคนเราอาจมีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน แต่ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและการเก็บเกี่ยวจากประสบการณ์ (Effort and Experience)</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;กรอบความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) หมายถึง การเชื่อว่าคุณสมบัติของตนเองเป็นสิ่งที่สามารถพัฒนาได้ด้วยความพยายาม ถึงแม้ว่าคนเราอาจมีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน แต่ทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและการเก็บเกี่ยวจากประสบการณ์ (Effort and Experience)&rdquo;</span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กรอบความคิด (Mindset) จะเป็นตัวกำหนดเราทุกอย่าง เราจะเป็นอย่างไรก็เพราะมุมมองของเราที่มีต่อเรื่องต่าง ๆ และกรอบความคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) มีความสำคัญมากต่อการใช้ชีวิต ช่วยให้คนมีการพัฒนาตนเอง มีการตั้งเป้าหมาย (Target) ใช้ความพยายามมากขึ้น (Effort) และมีระเบียบวินัยต่อตนเอง (Discipline)</span></p>
<p><span style="color: #ff6600;">(เครดิตข้อมูล: งานแห่งอนาคต (Career for Life), มนตรี แสงอุไรพร)</span></p>
<p><span style="color: #ff6600;">(เครดิตรูปภาพ: https://www.joegirard.com/)</span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1etm6ag8t1kd81mde1l5k1cf4iolb.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [end_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2021-02-04 17:22:17
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 17740
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [4] => Array
        (
            [article_id] => 53034
            [category_id] => 3152
            [title] => หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ
            [category_name] => Articles
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ</strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/Productivity/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%20Productivity%20%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%201110x476/7)%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%20(1110x476).jpg" width="818" height="351" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal System) เป็นหนึ่งในระบบงานด้านทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญที่สุด โดยอยู่ในส่วนของการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) เพื่อการพัฒนาองค์กร ซึ่งหลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เกิดประโยชน์ต่อองค์กรและบุคลากรนั้น ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทองค์กรและคุณลักษณะของบุคลากรแต่ละกลุ่ม ต้องใช้วิธีการประเมินผลที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมิน และการออกแบบต้องส่งผลต่อการพัฒนาบุคลากรและองค์กร</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ถ้าองค์กรไม่ได้กำหนดเกณฑ์การประเมินผลที่ชัดเจน หรือไม่ได้กำหนดค่านิยมองค์กรไว้สำหรับประเมิน (Core Value) มีแนวโน้มผู้ประเมินผลแต่ละคนอาจจะใช้ &ldquo;ค่านิยม&rdquo; ของตนเอง (Personal Value Judgement) ในการประเมินลูกน้อง หรือเรียกว่ามี &ldquo;ความผิดพลาดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน&rdquo; เช่น การเหมารวม (Stereotyping) หรือผลกระทบจากความคล้ายคลึง (Similar-to-me Effect) เป็นต้น ซึ่งภาวะดังกล่าว จะส่งผลเสียต่อการประเมินเป็นอย่างมาก ทั้งในแง่ของความสอดคล้อง ความเที่ยงตรง ความเชื่อถือ และความยุติธรรมในการประเมินผลงาน<br /></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยปกติแล้วการประเมินผลการปฏิบัติงาน สามารถพิจารณาได้เป็น 3 ระดับตามหลักการของการพัฒนาองค์กร คือ ผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร (Corporate Performance) ผลการปฏิบัติงานระดับกลุ่ม (Group Performance) และผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล (Individual Performance) ดังนั้นการประเมินผลการปฏิบัติงาน จึงมิได้เป็นเพียงการประเมินตัวบุคคลเท่านั้น หากแต่เป็นการประเมิน 3 ระดับ ดังกล่าว ดังนั้นจึงควรรู้ว่าผลการปฏิบัติงานนั้นเป็นความรับผิดชอบของใคร และไม่สามารถนำผลการปฏิบัติงานกลุ่ม มาใช้ประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคลได้ </span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เกิดประโยชน์ต่อองค์กรและบุคลากร 1) ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทองค์กรและคุณลักษณะของบุคลากรแต่ละกลุ่ม 2) ต้องใช้วิธีการประเมินผลที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การประเมิน และ 3) การออกแบบต้องส่งผลต่อการพัฒนาบุคลากรและองค์กร&rdquo; </span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยข้อเท็จจริงการประเมินผลการปฏิบัติงานมีประโยชน์มากต่อองค์กรและผู้ถูกประเมิน เพียงแต่ว่าต้องสามารถออกแบบระบบการประเมินให้ถูกต้อง และสอนให้ผู้ประเมินใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานให้เป็น (Performance Appraisal Form) ซึ่งจะเกิดประโยชน์อย่างมาก ทั้งในด้านผลงานและการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะการทำงานสูงขึ้น (Competency) บทความนี้จะเน้นการประเมินผลการปฏิบัติงานระดับกลุ่มและบุคคลเท่านั้น และจะกล่าวถึงหลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้เกณฑ์ 6 ข้อ เป็นแนวทางในการออกแบบ</span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000;"><strong><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ<br /></span></strong></span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>1) ความสอดคล้อง (Relevance) </strong>เป็นเกณฑ์ข้อแรกที่สำคัญที่สุด เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักของการประเมินคือ เพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนและพัฒนาองค์กร ดังนั้นเกณฑ์ความสอดคล้อง จึงเปรียบเสมือนการกลัดกระดุมเม็ดแรก ถ้ากลัดถูกเกณฑ์อื่นย่อมถูกต้องไปด้วย และการออกแบบการประเมินควรมีประเด็นที่ทำให้บุคลากรทุกคนในองค์กร สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กร เช่น บริษัท 3M เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ได้ตั้งเป้าหมายระดับองค์กรว่า ร้อยละ 30 ของยอดขายทั่วโลกในแต่ละปี ต้องมาจากผลิตภัณฑ์ที่ถูกคิดค้นในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา หรือเรียกว่า &ldquo;The 3M 30 Percent Challenge&rdquo; ซึ่งเป้าหมายนี้มีการถ่ายโอนไปสู่ระดับผู้จัดการ และระดับบุคลากรทุกคนในองค์กร ที่จะต้องรับเรื่องนวัตกรรมไปดำเนินการ โดยกำหนดเป็นร้อยละ 15 ของเวลาทำงาน ให้บุคลากรเลือกโครงการที่อยากทำ ดังนั้นตัววัดผล (KPI) ควรเป็นโครงการที่ได้มีการลงมือทำ เป็นต้น</span></p>
<p><span style="color: #000000;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">อีกตัวอย่างคือ องค์กรที่เน้นผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพดีและมีต้นทุนต่ำ ถ้าองค์กรมีนโยบายคุณภาพและลดต้นทุน การใช้เกณฑ์ความสอดคล้อง ต้องออกแบบให้บุคลากรเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กร ตัววัดผลงานคือ การค้นหาความสูญเปล่าในกระบวนการ หรือกิจกรรมไคเซ็นที่ได้ผลจริง</span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"></span></span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;ความสอดคล้อง (Relevance) เป็นเกณฑ์ข้อแรกที่สำคัญที่สุด เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักของการประเมินคือ เพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนและพัฒนาองค์กร และการออกแบบการประเมินควรมีประเด็นที่ทำให้บุคลากรทุกคนในองค์กร สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาองค์กร&rdquo; </span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>2) ความเที่ยงตรง (Validity)</strong> ความเที่ยงตรงเป็นการพยายามในการประเมินสิ่งที่ต้องการประเมินอย่างแท้จริง ผลที่วัดได้อาจไม่มีความเที่ยงตรงก็เป็นได้ ถ้าเลือกใช้ข้อมูลหรือตัววัดที่ผิด ไม่สะท้อนสิ่งที่ต้องการประเมิน เช่น ถ้าต้องการวัดปริมาตรน้ำ ควรใช้ถ้วยตวง ไม่ควรใช้ไม้บรรทัด หรือต้องการประเมินการบริการของพนักงานขาย ควรต้องใช้การประเมินจากผู้รับบริการ ไม่ควรใช้การประเมินจากหัวหน้างานที่เห็นการให้บริการของผู้ปฏิบัติงาน </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">สำหรับตัววัดผล (KPI) ความเที่ยงตรงจะเกิดขึ้น เมื่อผลการปฏิบัติงานที่ต้องการประเมินสามารถเก็บผลงานได้ชัดเจน และในส่วนของสมรรถนะ (Competency) ความเที่ยงตรงจะเกิดขึ้น เมื่อสมรรถนะที่ต้องการประเมินสามารถบันทึกพฤติกรรมที่คาดหวังได้ชัดเจน (Expected Behavior)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>3) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) </strong>ความเชื่อถือได้เป็นความพยายามในการประเมินเพื่อให้ได้ค่าที่แท้จริง (True Value) เป็นความพยายามให้ได้ค่าที่ถูกต้องเท่ากันทุกครั้งไม่ว่าใครประเมิน หรือประเมินกี่ครั้งก็ตาม ยังคงได้ค่าเท่าเดิม</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อคิด</span> การวัดสิ่งที่จับต้องได้และมีความเป็นรูปธรรม (KPI) เช่น ของเสีย เครื่องจักรหยุดทำงาน ปัญหาซ่อมเกิดซ้ำ การรับและจ่ายสินค้าผิด สินค้าเสียเนื่องจากการจัดเก็บ เป็นต้น ค่อนข้างจะได้ค่าเท่ากันทุกครั้ง เพราะมีหลักฐานแน่นอนในการวัดโดยใช้การบันทึกผลงาน </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อคิด</span> การวัดสิ่งที่มีความเป็นนามธรรมและความสามารถ (Competency) เช่น ความรับผิดชอบ จิตสำนึกคุณภาพ ความรู้และทักษะในเครื่องจักร การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น มีแนวโน้มจะได้ค่าต่างกัน ดังนั้นต้องระบุและให้รายละเอียดพฤติกรรมที่คาดหวังให้ชัดเจน (Expected Behavior)</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>4) ครอบคลุม (Comprehensive) </strong>หมายถึง การออกแบบระบบประเมินที่ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถระบุสิ่งที่ทำ หรือใช้เวลาในการทำงานเพื่อทีมงานหรือองค์กร โดยควรครอบคลุมภาระงานขั้นต่ำและผลงานที่มากกว่าภาระงานขั้นต่ำ รวมถึงทุกสิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานได้ทำ โดยสามารถระบุลงในแบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงานได้ โดยควรครอบคลุมภาระงานขั้นต่ำและผลงานที่มากกว่าภาระงานขั้นต่ำ รวมถึงทุกสิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานได้ทำ </span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>5) ใช้ได้จริง (Feasible) </strong>หมายถึง กระบวนการประเมินและแบบฟอร์มการประเมิน สามารถทำให้ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินนำไปใช้ได้จริง ไม่ยากจนเกินไป ไม่ใช้เวลามากจนเกินความจำเป็น</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>6) แยกแยะได้ (Distinguish) </strong>หมายถึง ผลการประเมินการปฏิบัติงาน (ค่าคะแนน) สามารถแยกแยะระหว่างผู้ปฏิบัติงานโดดเด่น ผู้ปฏิบัติงานได้ตามความคาดหวัง และผู้ปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามความคาดหวัง ออกจากกันได้</span></p>
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 100%; height: auto; background-color: #dcdcdc;"><span style="font-size: 20pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">&nbsp;&ldquo;หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้เกณฑ์ 6 ข้อ ได้แก่ 1) ความสอดคล้อง (Relevance) 2) ความเที่ยงตรง (Validity) 3) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) 4) ครอบคลุม (Comprehensive) 5) ใช้ได้จริง (Feasible) และ 6) แยกแยะได้ (Distinguish)&rdquo; </span></td>
</tr>
</tbody>
</table>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">โดยสรุปเกณฑ์ 6 ข้อ เป็นหลักการที่ทำให้การออกแบบระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และสามารถนำเกณฑ์ดังกล่าวมาตรวจสอบ และปรับปรุงระบบการประเมินผลงานที่ใช้ในปัจจุบันให้ดียิ่งขึ้น</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">(เครดิต: เรียบเรียงข้อมูลจากหนังสือ "การบริหารผลการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์: เครื่องมือพัฒนาองค์กร"&nbsp; ศ.ดร.จิรประภา อัครบวร) </span></p>
</blockquote>
</div>
            [image] => o_1f8a5699s15vjuth7pdbnc1ptjb.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [end_date] => 2017-06-22 12:48:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2021-06-16 17:17:11
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 7646
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [5] => Array
        (
            [article_id] => 48491
            [category_id] => 3930
            [title] => การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ (Logical Thinking and Systematic Problem Solving)
            [category_name] => Public Calendar
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => 
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ<br />(Logical Thinking and Systematic Problem Solving)</strong></span></h1>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/1)%20Public%20Training%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%88.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/o_1b95eet9hsuj11v1dlckk210dqb.jpg" width="252" height="241" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/TH%201.10%20Course%20outline%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| TRAINING CALENDAR&nbsp;<a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| APPLY NOW <a href="ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-48491-การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำของหัวหน้างาน-leadership-developme.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span>&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity &amp; HR Consultant</span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong>ปัญหา</strong>คือ &ldquo;ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นและไม่ตรงกับความคาดหวังหรือสิ่งที่ควรจะเป็น&rdquo; การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเกี่ยวข้องกับ<span style="text-decoration: underline;">การทำงานของสมอง (การคิด) และพฤติกรรมที่ใช้แก้ปัญหา</span> เมื่อมีปัญหาผ่านเข้ามาสู่ระบบการรับรู้ของมนุษย์ (Sensing) มนุษย์แต่ละคนมีวิธีการจัดการกับปัญหาที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งส่งผลให้เกิดการสะสมเป็นประสบการณ์ที่แตกต่างกันในแต่ละคน ดังนั้นการให้ความสำคัญกับแต่ละปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสบการณ์ที่มี<strong>ประสิทธิภาพ (Effective Experience)</strong> ในการแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก<br /></span><br />
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">หนึ่งในการคิดแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพคือ <strong>&ldquo;การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking)&rdquo;</strong> เนื่องจากเหตุผลต่าง ๆ 9 ข้อ ดังนี้&nbsp;</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะให้ความสำคัญกับการมองภาพรวมของปัญหา (Big Picture)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะมุ่งเน้นการกำหนด Framework ในการแก้ปัญหา </span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะมีการกำหนดเป้าหมายที่ต้องการบรรลุอย่างชัดเจน (Goal)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะแสดงลำดับขั้นตอนของความเป็นเหตุและผล (Cause and Effect)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อหาทางป้องกัน</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะประเมินอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นเพื่อหาทางหลีกเลี่ยง</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะหลีกเลี่ยงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะเน้นการจัดลำดับแก้ปัญหากับสิ่งที่ให้ผลผลัพธ์สูง</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะเน้นการแสวงหาความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา</span></li>
</ul>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์หาเหตุผลแท้จริงของความสำเร็จและล้มเหลว แสดงลำดับขั้นตอนของเรื่องราวอย่างชัดเจน และอื่น ๆ ดังกล่าวข้างต้น เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจเลือกวิธีแก้ปัญหาในทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด อาจกล่าวได้ว่าการคิดเชิงตรรกะคือ &ldquo;การตัดสินใจแบบมีเหตุผลรองรับ&rdquo; ดังนั้นความคิดเชิงตรรกะถือว่าเป็นกระบวนการสร้างนิสัยการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ การตัดสินใจใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ และหลีกเลี่ยงการคิดแก้ปัญหาที่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิม</span></p>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการทำงานของสมองและพฤติกรรมแก้ปัญหาโดยธรรมชาติของมนุษย์ และความสำคัญของ Logical Thinking</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเสริมสร้าง Logical Thinking ของตนเองให้สูงขึ้นด้วยการให้ความสำคัญกับการพัฒนาปัจจัย 6 ประการ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนมีกระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบของ Logical Thinking โดยเรียนรู้ความสำคัญและประโยชน์ของการใช้ Framework and Technique ในการแก้ปัญหา</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Module - 1 พื้นฐานการคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่สมองก่อนการเรียนรู้<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการทำความเข้าใจปรากฏการณ์</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการสำคัญของการแก้ปัญหาเชิงระบบ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการคิดเชิงตรรกะ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ทำไมต้องเรียนรู้ความคิดเชิงตรรกะ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของความคิดเชิงตรรกะ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I:</span> สำรวจปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของตนเอง</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Module - 2 ปัจจัย 6 ประการส่งเสริมการสร้างการคิดเชิงตรรกะ </span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ฝึกก้าวข้ามอุปสรรคของตนเอง<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความแตกต่างระหว่างวัตถุประสงค์และวิธีการ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การฝึกค้นหาสาเหตุที่แท้จริง</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การมองภาพใหญ่ก่อนแก้ปัญหา (Big Picture)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การขยายกรอบความคิดให้ใหญ่ขึ้น</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดการจัดการข้อมูลด้วย Keyword และการจัดกลุ่ม</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Module - 3 การคิดเชิงตรรกะและแก้ปัญหาด้วย Framework and Technique </span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจ<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความสำคัญและประโยชน์ของ Framework</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบการวิเคราะห์ปัญหา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบการจัดระเบียบข้อมูล</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบค้นหาแนวทางการแก้ปัญหา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบแสดงความสัมพันธ์</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Framework แบบเพื่อการตัดสินใจ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Main Technique ของทุก Framework</span></li>
</ul>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<img src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" />&nbsp;สภาพการณ์ที่ไม่มีการตกหล่นหรือความซ้ำซ้อน (MECE - Mutually Exclusive Collectively Exhaustive)<br /><span>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<img src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" />&nbsp;Option Thinking and Brainstorming</span><br /><span>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<img src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" />&nbsp;การจัดลำดับสิ่งที่ให้ผลลัพธ์สูง (Priority &ndash; ABC Concept)</span><br /></span></p>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span>Technique ของแต่ละ Framework</span></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span>ตัวอย่างเพื่อเรียนรู้การแก้ปัญหา Framework and Technique</span></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span><span style="text-decoration: underline;">Activity II:</span> การแก้ปัญหาด้วยความคิดเชิงตรรกะ </span></span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Module - 4 การพัฒนานิสัยการคิดเชิงตรรกะอย่างยั่งยืน</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด &ldquo;Knowledge is not Understanding&rdquo;</span></li>
</ul>
</blockquote>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" />&nbsp;public@bananatraining.com</a></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" />&nbsp;<a href="callto:080-626-9565">080-626-9565</a></span></p>
</div>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;</span></p>
            [image] => 
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-07-01 07:58:00
            [end_date] => 2017-07-01 07:58:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 4200.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2019-02-02 16:33:12
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 1402
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [6] => Array
        (
            [article_id] => 55664
            [category_id] => 3930
            [title] => การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer)
            [category_name] => Public Calendar
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => 
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรมืออาชีพ<br />(Train The Trainer)</strong></span></h1>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Train%20The%20Trainer_Appication%20Form_Sep%2024-25%2C%202018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| PUBLIC CALENDAR&nbsp;<a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| APPLY NOW <a href="ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-48491-การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ-logical-thinking-and.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span>&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity &amp; HR Consultant</span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาบุคลากรในองค์กรมีหลายวิธี การฝึกอบรม (Training) เป็นเครื่องมือตัวหนึ่งที่ช่วยลดระยะเวลาในการพัฒนาบุคลากร ทำให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทำงานสูงขึ้น และทันกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ&nbsp; ตลอดจนสามารถใช้การฝึกอบรมกับการพัฒนาทักษะด้านอ่อน (Soft Skill or Soft Side) ให้กับบุคลากรในองค์กร เช่น ทัศนคติ ความฉลาดทางอารมณ์ หรือภาวะความเป็นผู้นำ&nbsp; เป็นต้น เพื่อสร้างและปรับแนวคิด ไปสู่การเปลี่ยนแปลงค่านิยมและพฤติกรรมในการทำงาน และการร่วมกันทำงานเป็นทีมอย่างมีความสุขได้</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วิทยากรภายในองค์กรและ/หรือหัวหน้าตามสายปฏิบัติงานที่ต้องรับผิดชอบฝึกอบรมพนักงานให้มีประสิทธิภาพ ควรมีการวางแผนและเตรียมการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ (Systematic Training) มีความสามารถในการนำเสนอหรือถ่ายทอดอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีคุณสมบัติที่ดีในการเป็นวิทยากร และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของวิทยากร หรือเรียกว่ามี &ldquo;Mindset of Trainer&rdquo; ที่ถูกต้องต่อวิชาชีพวิทยากรฝึกอบรม</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การวางแผนและเตรียมการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพควรใช้หลักการ 6P</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P1: Purpose การกำหนดวัตถุประสงค์ฝึกอบรม</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P2: People คำถามสำหรับการวิเคราะห์ผู้ฟัง</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P3: Period เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับเวลา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P4: Point เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P5: Provide สอนอย่างไรจึงเหมาะสมและดีที่สุด</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">P6: Progress การประเมินผลของการฝึกอบรม</span></li>
</ul>
</li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากร (Train The Trainer) ให้กับบุคลากรในหน่วยงานเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะทำให้การฝึกอบรมบรรลุเป้าหมายของการฝึกอบรมที่กำหนดไว้ การฝึกอบรมจะไม่น่าเบื่อ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้จริง เพียงแต่วิทยากรผู้ฝึกอบรมต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในหลักการ 6P และให้ความสำคัญกับการฝึกฝนการถ่ายทอด (Delivery Skill) สม่ำเสมอ ซึ่งประโยชน์ที่เกิดขึ้นล้วนตกอยู่กับองค์กร และนำไปสู่การพัฒนาองค์กรได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น&nbsp;</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้บุคลากรมีพื้นฐานแนวคิดที่ถูกต้องของการเป็นวิทยากรฝึกอบรม</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้บุคลากรเข้าใจหลักการ 6P ของการฝึกอบรม และสามารถสร้างวิธีการที่เหมาะสมในการฝึกอบรมในหลักสูตรของตนเองได้</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้บุคลากรได้ออกแบบและฝึกการสร้างหลักสูตรด้วยตนเอง และจำลองเหตุการณ์สำหรับการฝึกปฏิบัติจริงในห้องเรียน พร้อมกับร่วมกันเป็นกรรมการติชมการฝึกปฏิบัติ</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;"><span class="fa mceNonEditable"><span style="color: #ff0000;"></span>&nbsp;</span>พื้นฐานที่ถูกต้องของการเป็นวิทยากรมืออาชีพ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Mindset of Trainer ในความคิดของคุณ<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและบทบาทของวิทยากร</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">องค์ประกอบของการนำเสนอที่มีประสิทธิภาพ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการนำเสนออย่างมืออาชีพ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Workshop I: กิจกรรมอุ่นเครื่องวิทยากร</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการ 6P สำหรับการเตรียมแผนการสอน<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Purpose การกำหนดวัตถุประสงค์การฝึกอบรม<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">People คำถามสำหรับการวิเคราะห์ผู้ฟัง<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Period เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับเวลา<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Point เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอ<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Provide สอนอย่างไรจึงเหมาะสมและดีที่สุด<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Progress การประเมินผลของการฝึกอบรม</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="color: #ff0000;"><span class="fa mceNonEditable">&nbsp;</span></span>การพัฒนาทักษะการจัดวางเนื้อหาอย่างมีระบบ </span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">โครงสร้างของการฝึกอบรมแบบมืออาชีพ<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด &ldquo;ทฤษฎีช้าง&rdquo; กับเทคนิคการวางเนื้อหาสาระ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">องค์ประกอบของการนำเสนอในแต่ละช่วง</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพ (Provide)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคการฝึกอบรมแบบจุดศูนย์กลางการเรียนรู้ (วิทยากร/ผู้เรียน/อุปกรณ์)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ตัวอย่างการเตรียมแผนการสอนด้วย &ldquo;แบบฟอร์มโครงสร้างแผนการสอน&rdquo;</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Workshop II: การเตรียมแผนการสอน</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="color: #ff0000;"><span class="fa mceNonEditable">&nbsp;</span></span>เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพของการฝึกอบรม</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Slide ประเภทต่าง ๆ และการประยุกต์ใช้</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การประยุกต์ใช้ Slide ประเภทแผนภาพ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การเตรียมสื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">7 อุปกรณ์พื้นฐานสำหรับการนำเสนอ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัจจัยส่งเสริมความน่าเชื่อถือของผู้นำเสนอ</span>&nbsp;<br />&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การใช้น้ำเสียงสำหรับการนำเสนอ<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">อำนาจของภาษากายมีผลต่อการนำเสนอ<br /></span>&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img class="" style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;" src="../../sites/10292/files/u/Filled-Diamond-Bullets-12x12px.png" alt="" width="12" height="12" /><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงของนักนำเสนอ</span></li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span>Workshop II: เตรียมสไลด์และโครงสร้างแผนการสอน (Take Home)</span></span></li>
</ul>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span><span class="fa mceNonEditable"><span style="color: #ff0000;"></span> การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรอย่างยั่งยืน</span></span></span></p>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด <em>&ldquo;Knowledge is not Understanding&rdquo;</em></span></li>
</ul>
</blockquote>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" />&nbsp;public@bananatraining.com</a></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" />&nbsp;<a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p>
</div>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;</span></p>
            [image] => 
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2018-08-02 05:09:00
            [end_date] => 2018-08-02 05:09:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 9500.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-12-31 14:31:53
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 2967
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [7] => Array
        (
            [article_id] => 56836
            [category_id] => 3930
            [title] => การแก้ปัญหาด้วยเทคนิค 8D Report
            [category_name] => Public Calendar
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => 
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>การแก้ปัญหาด้วยเทคนิค 8D Report &amp; Why - Why Analysis<br />(Problem Solving by 8D Report &amp; Why - Why Analysis)</strong></span></h1>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/8DReport/Public%208D%20Report_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| PUBLIC CALENDAR&nbsp;<a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| APPLY NOW <img class="active" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span>&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity &amp; HR Consultant</span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">องค์การจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง &ldquo;คุณภาพ&rdquo; ในสินค้าและบริการ ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร มีขั้นตอนสำหรับการแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง หรือเรียกอีกชื่อว่า &ldquo;กระบวนการวิเคราะห์และแก้ปัญหาแบบ 8D Report&rdquo; เพื่อสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งการพัฒนาให้ได้มาซึ่งคุณภาพนั้นสามารถทำได้โดยการลงทุนในเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วย &ldquo;บุคลากร&rdquo; อันหมายถึงการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะการทำงานของพนักงาน<br /><br />ปัญหาต่าง ๆ ของการทำงานในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น โดยเฉพาะในกระบวนการทำงานภายในโรงงาน (Process in Factory) ซึ่งทักษะการวิเคราะห์ปัญหาด้วย 8D Report &amp; Why &ndash; Why Analysis เป็นพื้นฐานสำคัญและมีความเหมาะสมกับการแก้ปัญหาในกระบวนการมาก การพัฒนาทักษะดังกล่าวส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ มีความเป็นระบบ มีขั้นตอนและมีเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ และได้ผลลัพธ์ทั้ง &ldquo;<strong>การแก้ปัญหาและป้องกันปัญหา (Corrective &amp; Preventive Action)</strong>&rdquo; ที่มีร่วมกันในขั้นตอนของ 8D Report</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><br /></span><br />
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วย 8D Report &amp; Why &ndash; Why Analysis มีขั้นตอนและข้อกำหนดตามมาตรฐานสากลดังนี้&nbsp;</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D1:</span> การจัดตั้งคณะทำงานแบบข้ามสายงาน (Build a Cross &ndash; Functional Team)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D2:</span> การทำความเข้าใจลักษณะของปัญหา (Describe the Problem)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D3:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น (Implement Containment Action)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D4:</span> การระบุรากสาเหตุ (Define Root Causes)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D5:</span> การกำหนดปฏิบัติการแก้ไข (Define Corrective Action)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D6:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาถาวร (Implement Permanent Corrective Action)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D7:</span> วางมาตรการป้องกันการเกิดซ้ำ (Prevent Recurrence)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D8:</span> การยินดีกับความสำเร็จของคณะทำงาน (Congratulate the Team)</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำคัญของการวิเคราะห์และแก้ปัญหา ผ่านการเรียนรู้ด้วยโมเดล &ldquo;สาเหตุและผลกระทบ&rdquo; (Cause and Effect) และ &ldquo;ความมีเหตุผล&rdquo; (Reasonableness)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการของ 8D Report อย่างเป็นขั้นตอน และสามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเครื่องมือควบคุมคุณภาพที่จำเป็นและเทคนิค Why &ndash; Why Analysis ผ่านการเรียนรู้ด้วยปัญหาภายในห้องเรียน</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานของการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกระบวนการ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่ของสมองก่อนการเรียนรู้<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการทำงานของสมองและพฤติกรรมแก้ปัญหา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">จิตสำนึกความเป็นเจ้าของกับ 8D Report &amp; Why &ndash; Why Analysis</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์และแก้ปัญหา</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">สาเหตุ&nbsp;<span class="fa mceNonEditable"></span> ผลกระทบ (Cause <span><span class="fa mceNonEditable">&nbsp;</span></span>Effect)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความมีเหตุผล (Reasonableness)</span></li>
</ul>
</li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">พื้นฐานของการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกระบวนการ (ต่อ)</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่<br /></span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Management = Standardization + Improvement Activity</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการของความเป็นระบบ (System)</span></li>
</ul>
</li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและประเภทของปัญหา (Sporadic &amp; Chronic Problem)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">มาตรการการแก้ไขปัญหาคุณภาพ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การทำให้ถูกต้อง (Correction)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การปฏิบัติการแก้ไข (Corrective Action : C/A)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การปฏิบัติการป้องกัน (Preventive Action : P/A)</span></li>
</ul>
</li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ขั้นตอนและข้อกำหนดของการทำ 8D Report</span>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D1:</span> การจัดตั้งคณะทำงานแบบข้ามสายงาน (Build a Cross &ndash; Functional Team)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D2:</span> การทำความเข้าใจลักษณะของปัญหา (Describe the Problem)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D3:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น (Implement Containment Action)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D4:</span> การระบุรากสาเหตุ (Define Root Causes)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D5:</span> การกำหนดปฏิบัติการแก้ไข (Define Corrective Action)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D6:</span> การปฏิบัติการแก้ไขปัญหาถาวร (Implement Permanent Corrective Action)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D7:</span> วางมาตรการป้องกันการเกิดซ้ำ (Prevent Recurrence)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">D8:</span> การยินดีกับความสำเร็จของคณะทำงาน (Congratulate the Team)</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคสำหรับการแก้ปัญหาด้วย 8D</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">7 เครื่องมือควบคุมคุณภาพ (7 QC Tools)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคแก้ปัญหาด้วย Why &ndash; Why Analysis &amp; 3G</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I:</span> การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนผังพาเรโต (Pareto Chart)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II:</span> การแก้ปัญหาด้วยหลักการ 8D (โจทย์ของสถาบันฯ)</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด &ldquo;Knowledge is not Understanding&rdquo;</span></li>
</ul>
</blockquote>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" />&nbsp;public@bananatraining.com</a></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" />&nbsp;<a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p>
</div>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;</span></p>
            [image] => 
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2018-09-25 06:19:00
            [end_date] => 2018-09-25 06:19:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 3900.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-09-25 16:07:27
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 765
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [8] => Array
        (
            [article_id] => 56841
            [category_id] => 3930
            [title] => การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA
            [category_name] => Public Calendar
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => 
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA<br />(Continuous Improvement with PDCA Cycle)</strong></span></h1>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/PDCA/Public%20PDCA_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| PUBLIC CALENDAR&nbsp;<a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| APPLY NOW <img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span>&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity &amp; HR Consultant</span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">องค์การจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง &ldquo;คุณภาพ&rdquo; ในผลิตภัณฑ์สูงขึ้น ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร ต้องมีขั้นตอนการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์อย่างเป็นรูปธรรม หรือมีลักษณะของการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving) ซึ่งทั้งหมดมีวัตถุประสงค์เพื่อ &ldquo;ลดต้นทุนในกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์&rdquo; โดยแนวทางที่นิยมใช้มากในอุตสาหกรรมคือ &ldquo;การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA&rdquo; หรือที่เราคุ้นเคยในชื่อ &ldquo;วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle)&rdquo;</span><br /><br />
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA เป็นกระบวนการของการเชื่อมต่อกิจกรรม ที่คำนึงถึง &ldquo;สิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิมเสมอ&rdquo; ด้วยการใช้กิจกรรมการแก้ปัญหาเพื่อปรับปรุงคุณภาพ (Improvement Activity) มาเป็นตัวขับเคลื่อนวงจร และวงจร PDCA ยังเป็นส่วนหนึ่งของแนวความคิดของการบริหารงานสมัยใหม่ ที่มีวัตถุประสงค์ให้แต่ละแผนกปฏิบัติงานด้วย &ldquo;มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standardization)&rdquo; ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การปฏิบัติงานมีความเป็นระบบ (System) มากขึ้น ดังนั้นเมื่อเกิดปัญหาคุณภาพขึ้นในกระบวนการ การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาจึงสามารถ<span style="text-decoration: underline;">ใช้รูปแบบ วิธีการ หรือขั้นตอนแก้ปัญหาที่มีความเหมือนกันกับบริบทของปัญหาที่เปลี่ยนไป</span>&nbsp;</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA มีองค์ประกอบและขั้นตอนดังนี้</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Plan (การวางแผน) มีรายละเอียดดังนี้</span>
<ol>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การนิยามปัญหา &ndash; เพื่อการเลือกปัญหาและระบุปัญหาให้ชัดเจน</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์ปัญหาและตั้งเป้าหมาย &ndash; เพื่อกำหนดขอบเขตและตั้งเป้าหมายของการแก้ปัญหา</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์สาเหตุ &ndash; เพื่อค้นหารากสาเหตุที่แท้จริง (Root Cause Analysis)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การกำหนดมาตรการแก้ไข - เพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุด</span></li>
</ol>
</li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Do (การลงมือปฏิบัติ) &ndash; 5.&nbsp; การนำมาตรการแก้ไขไปใช้</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">Check (การตรวจสอบ) &ndash; 6.&nbsp; การตรวจสอบเพื่อยืนยันผลลัพธ์</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ACT (การปฏิบัติการแก้ไข) &ndash; 7.&nbsp; การป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหาด้วยการปรับมาตรฐาน</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกของการลดต้นทุนและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในมิติของวงจร PDCA</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจการบริหารงานสมัยใหม่ อันประกอบไปด้วยมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standardization) และกิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Improvement Activity)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคนิคของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง PDCA ด้วยการเรียนรู้จากการแก้ปัญหาที่มอบหมายให้ภายในชั้นเรียน</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานและแนวคิดการปรับปรุงคุณภาพ (PQC Mindset)</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่สมองก่อนการเรียนรู้</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดในการทำกำไรของธุรกิจสมัยใหม่</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">กรณีศึกษา</span>: เรียนรู้จิตสำนึกการลดต้นทุน</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">จิตสำนึกความเป็นเจ้าของกับการปรับปรุงคุณภาพ (Ownership Quotient)</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">พื้นฐานการควบคุมคุณภาพและปรับปรุงคุณภาพ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคเพื่อการลดต้นทุนการผลิต</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่</span>
<ul>
<li>Management = Standardization + Improvement Activity</li>
<li>หลักการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement - PDCA)</li>
<li>หลักการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving)</li>
</ul>
</li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">การควบคุมคุณภาพ</span>ของกระบวนการด้วยวงจร SDCA</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและประเภทของปัญหา (Sporadic &amp; Chronic Problem)</span>
<ul>
<li>ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect)</li>
<li>ปัญหาคุณภาพในมิติของความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)</li>
</ul>
</li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การวิเคราะห์ต้นทุนของปัญหาคุณภาพด้วยแนวคิดเศรษศาสตร์</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">การปรับปรุงคุณภาพ</span>ของกระบวนการด้วยวงจร PDCA</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความสัมพันธ์ของวงจร SDCA และวงจร PDCA</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I</span>: ค้นหาปัญหาเรื้อรัง (Chronic Problem) ในกระบวนการ</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">มาตรการแก้ปัญหาคุณภาพและปรับปรุงกระบวนการ&nbsp;</span>
<ul>
<li>การทำให้ถูกต้อง (Correction)</li>
<li>การปฏิบัติการแก้ไข (Corrective Action : C/A)</li>
<li>การปฏิบัติการป้องกัน (Preventive Action : P/A)</li>
</ul>
</li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ขั้นตอนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของวงจร PDCA</span>
<ul>
<li>Plan (การวางแผน)
<ol>
<li>การนิยามปัญหา</li>
<li>การวิเคราะห์ปัญหาและตั้งเป้าหมาย</li>
<li>การวิเคราะห์สาเหตุ</li>
<li>กำหนดมาตรการแก้ไข</li>
</ol>
</li>
<li>Do (การลงมือปฏิบัติ) &ndash; 5.&nbsp; การนำมาตรการแก้ไขไปใช้</li>
<li>Check (การตรวจสอบ) &ndash; 6.&nbsp; การตรวจสอบเพื่อยืนยันผลลัพธ์</li>
<li>ACT (การปฏิบัติการแก้ไข) &ndash; 7.&nbsp; การป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหาด้วยการปรับมาตรฐาน</li>
</ul>
</li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือประกอบการปรับปรุงคุณภาพของวงจร PDCA</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II</span>: เรียนรู้ขั้นตอนการปรับปรุง PDCA ด้วยปัญหาที่กำหนดให้</span></li>
</ul>
</blockquote>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" />&nbsp;public@bananatraining.com</a></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" />&nbsp;<a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p>
</div>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;</span></p>
            [image] => 
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2018-09-25 09:38:00
            [end_date] => 2018-09-25 09:38:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 3900.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2019-02-02 22:51:10
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 2459
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์วิสุทธิ์ ทบพักตร์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [9] => Array
        (
            [article_id] => 56843
            [category_id] => 3930
            [title] => QC Story และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
            [category_name] => Public Calendar
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => 
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong>QC Story และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ<br />(QC Story for Systematic Problem Solving)</strong></span></h1>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/QC%20Story/Public%20QC%20Story_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| PUBLIC CALENDAR&nbsp;<a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| APPLY NOW <a href="../../ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-56843-qc-story-และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span>&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity &amp; HR Consultant</span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">องค์การจะประสบความสำเร็จและเติบโตได้อย่างยั่งยืน จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่อง &ldquo;คุณภาพ&rdquo; ในสินค้าและบริการ ต้องมีกลยุทธ์หรือวิธีการในการพัฒนาบุคลากร มีขั้นตอนสำหรับการแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง หรือเรียกอีกชื่อว่า &ldquo;<strong>กระบวนการแก้ไขปัญหาแบบคิวซีสตอรี่ (QC Story)</strong>&rdquo;&nbsp;เพื่อสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งการพัฒนาให้ได้มาซึ่งคุณภาพนั้นสามารถทำได้โดยการลงทุนในเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วย &ldquo;บุคลากร&rdquo; อันหมายถึงการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะการทำงานของพนักงาน</span><br /><br />
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กระบวนการแก้ไขปัญหาคุณภาพแบบคิวซีสตอรี่ (QC Story) มีขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และมีเหตุมีผล ในปัจจุบันนี้พบว่ามีแนวทางการแก้ปัญหาเกิดขึ้นหลายค่าย อุตสาหกรรมของประเทศไทยมีการใช้ตามความเหมาะสมกับวัฒนธรรมขององค์กร อย่างไรก็ตาม วิธีการของแต่ละค่ายมีขั้นตอนต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะมีความใกล้เคียงกัน แต่ต่างกันเล็กน้อยในบางประเด็น สามารถแยกประเภทของกระบวนการแก้ปัญหาได้ดังนี้<br /></span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ตัวแบบ DISC ของ JURAN</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">กระบวนการแก้ปัญหาที่สมเหตุสมผลของ Kepner &ndash; Tregoe</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">วิธีการแก้ปัญหาแบบ Six Sigma ของ MOTOROLA</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คิวซีสตอรี่ของ JSA &ndash; ระบบบริหาร TQM</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">คิวซีสตอรี่ของ JUSE - กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ QC Circle</span></li>
</ul>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การบริหารคุณภาพด้วยวงจร PDCA (Deming Cycle) นับว่าเป็นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หรือเรียกว่า Continuous Improvement ซึ่งมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับกระบวนการแก้ปัญหาคิวซีสตอรี่ของ JUSE (Japanese Union of Scientists and Engineers) อย่างเหมาะสมและลงตัว ทำให้ผู้เรียนเข้าใจและมีรูปแบบที่คุ้นเคยต่อการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ โดยอาศัย &ldquo;<strong>เครื่องมือคุณภาพอันทรงพลัง 7 ชนิด (7 QC Tools)</strong>&rdquo; นำมาเรียงร้อยและประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อแก้ไขปัญหาคุณภาพ พร้อมกับสร้าง (แก้ไข) มาตรฐานการปฏิบัติงานใหม่ (ACT) ตามวิถีหรือแนวทางการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ไม่มีที่สิ้นสุดของวงล้อคุณภาพ PDCA</span></p>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายและตระหนักถึงคำว่า &ldquo;คุณภาพ&rdquo; ในมิติต่าง ๆ และหลักการของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control Principle)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงคุณภาพ (QC Story) ตามมาตรฐาน JUSE โดยผ่านการฝึกแก้ปัญหาโจทย์ที่ออกแบบมาในลักษณะการเชื่อมโยงเครื่องมือ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือควบคุมคุณภาพ (7 QC Tools) ได้จริง</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานและแนวคิดของการเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการปรับสู่องค์กรแห่งคุณภาพ (Quality Organization)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดในการทำกำไรของธุรกิจสมัยใหม่</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">จิตสำนึกความเป็นเจ้าของกับการปรับปรุงคุณภาพ (Ownership Quotient)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการเพิ่มผลผลิต (Productivity)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">องค์ประกอบที่สำคัญของการเพิ่มผลผลิต (PQCDSMEE)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (KPI) กับมาตรฐาน PQCDSMEE</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I</span>: ทบทวนนโยบายคุณภาพและดัชนีชี้วัดความสำเร็จ</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและแนวความคิดของคุณภาพ</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของคุณภาพและคุณภาพตามมิติต่าง ๆ&nbsp;</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวความคิดของการควบคุมคุณภาพ (เชิงเทคนิคและเชิงจัดการ)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control Principle)</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><br /></span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กรอบทางความคิดของขั้นตอนแก้ปัญหาด้วย QC Story</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่</span>
<ul>
<li>Management = Standardization + Improvement Activity</li>
<li>ความเป็นระบบ (System) และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement - PDCA)</li>
</ul>
</li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วงจร SDCA และวงจร PDCA (Deming Cycle) กับการแก้ปัญหาคุณภาพ</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายและประเภทของปัญหา (Sporadic &amp; Chronic Problem)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ปัญหาคุณภาพในมิติของความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การปรับปรุงคุณภาพอย่างเป็นระบบด้วย QC Story ตามมาตรฐาน JUSE</span>
<ul>
<li>การคัดเลือกหัวข้อ (Select Topic)</li>
<li>การทำความเข้าใจกับสภานการณ์ (Understanding Situation) และตั้งเป้าหมาย (Set Target)</li>
<li>การวางแผนกิจกรรมแก้ไขปัญหา (Plan Activities)</li>
<li>การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analyze Causes)</li>
<li>การพิจารณามาตรการตอบโต้และนำไปใช้ (Consider and Implement Countermeasure)</li>
<li>การยืนยันผลลัพธ์ (Check Results)</li>
<li>การจัดทำมาตรฐานและกำหนดระบบควบคุม (Standardization and Control System)</li>
</ul>
</li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคสำหรับการแก้ปัญหาด้วย QC Story</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ (QC Tools)<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคแก้ปัญหาด้วย 5 Why, 3G &amp; Brainstorming Technique</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II</span>: โจทย์ประยุกต์การแก้ปัญหาด้วย QC Story&nbsp;</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity III</span>: แก้ปัญหาคุณภาพของผู้เรียนด้วย QC Story</span>&nbsp;</li>
</ul>
</blockquote>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" />&nbsp;public@bananatraining.com</a></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" />&nbsp;<a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p>
</div>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;</span></p>
            [image] => 
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2018-09-25 10:23:00
            [end_date] => 2018-09-25 10:23:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 3900.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-12-31 17:15:53
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 1950
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [10] => Array
        (
            [article_id] => 56844
            [category_id] => 3930
            [title] => การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา
            [category_name] => Public Calendar
            [category_description] => 
            [category_image] => 
            [description] => 
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<h1><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 18pt;"><strong><span>การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา</span><br />(Root Cause Analysis)</strong></span></h1>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Logical%20Thinking.jpg" width="564" height="241" /><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/Thanayut.jpg" width="252" height="241" /></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">COURSE CONTENT&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Public%20Training/RootCause/Public%20Root%20Cause_Application%20Form_2018.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| PUBLIC CALENDAR&nbsp;<a href="sites/10292/files/u/Public%20Training/Public%20Training%202018%20-%20Banana%20Training.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/flat_icons-graficheria.it-06.png" alt="" width="20" height="20" /></a>&nbsp;| APPLY NOW <a href="../../ลงทะเบียนคอร์สบานาน่า-56844-การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา.html" rel="noopener" target="_blank"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/mouse-click-512.png" alt="" width="20" height="20" /></a></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">อาจารย์ธนายุทธ สิรินุตานนท์<span>&nbsp;<a href="../../sites/10292/files/u/Trainers/Profile%20Thanayut%20Sirinutanon.pdf" rel="noopener" target="_blank"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-pdf-1.png" alt="" width="20" height="20" /><br /></a></span></span><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Productivity &amp; HR Consultant</span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">หลักการและเหตุผล</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์รากสาเหตุ (Root Cause Analysis) คือ &ldquo;การวิเคราะห์หาปัจจัยที่เป็นต้นเหตุที่แท้จริง (Root Cause) ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบหรือปรากฏการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ขึ้น (Effect) ด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบและเป็นขั้นตอน โดยไม่เกิดสภาพการณ์ตกหล่นและซ้ำซ้อน และไม่จินตนาการเอง&rdquo; ดังนั้น Root Cause Analysis เปรียบเสมือนการมองเห็น &ldquo;ผลกระทบ&rdquo; และ &ldquo;สาเหตุ&rdquo; ในบางประเด็น แต่ยังไม่ด่วนสรุปทันทีว่าเกิดจากสาเหตุใด แต่พยายามค้นหาข้อเท็จจริงที่ถูกต้องและสอดคล้องเพื่อค้นหาว่า &ldquo;<strong>สาเหตุที่แท้จริงคืออะไร</strong>&rdquo;</span><br /><br />
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ปัญหาต่าง ๆ ของการทำงานในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น ทั้งกระบวนการทำงานแบบอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ (Factory &amp; Service)&nbsp; ซึ่งทักษะการวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause Analysis เป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้วิธีการที่ตรงประเด็นต่อปัญหาที่เกิดขึ้น การพัฒนาทักษะดังกล่าวส่งผลให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ มีความเป็นระบบ มีขั้นตอนและมีเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ จึงนับว่าการพัฒนาทักษะดังกล่าวเป็น &ldquo;<strong>การป้องกันการแก้ปัญหาแบบไม่สมเหตุผล</strong>&rdquo; ที่เกิดจากการนึกคิดเองของผู้ปฏิบัติงานไปด้วยในตัว</span></p>
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">การวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause Analysis ให้เกิดประสิทธิภาพสูงต้องมีเครื่องมือ เทคนิค และข้อกำหนด 7 ประการ โดยมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้&nbsp;</span></p>
<ul>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">หลักการระดมสมองอย่างถูกต้อง (Brainstorming)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">แผนผังต้นไม้ประเภท Why &ndash; Why Diagram</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">เทคนิคการตั้งคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Why Technique)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 1</span>: ความชัดเจนกับปัญหา (Specification)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 2</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 1 (MECE Technique Type I)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 3</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 2 (MECE Technique Type II)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 4</span>: การค้นหาถึงรากสาเหตุ (Root Cause with 5 Why Technique)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 5</span>: ความสมเหตุสมผลแบบแท้จริงและไม่แท้จริง (Reasonableness Cause)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 6</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุจากสภาพจิตใจ (Emotional Cause)</span></li>
<li><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 7</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุนามธรรม (Abstract Cause)</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วัตถุประสงค์ของหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis และเรียนรู้หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา โดยเรียนรู้ด้วยโมเดล &ldquo;สาเหตุและผลกระทบ&rdquo; (Cause and Effect) และ &ldquo;ความมีเหตุผล&rdquo; (Reasonableness)&nbsp;</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis ด้วยการใช้เครื่องมือ เทคนิคและข้อกำหนดที่จำเป็น 7 ประการ โดยเรียนรู้ด้วยปัญหาจริงของผู้เรียน</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">รายละเอียดเนื้อหาตามหลักสูตร</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">พื้นฐานของการวิเคราะห์ปัญหาด้วย Root Cause Analysis</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กิจกรรมปรับคลื่นความถี่ของสมองก่อนการเรียนรู้</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">กระบวนการทำงานของสมองและพฤติกรรมแก้ปัญหา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความหมายของการวิเคราะห์ด้วย Root Cause Analysis</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์ Root Cause Analysis</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt;">สาเหตุ</span> <span class="fa fa-arrow-right" style="color: #000000; font-size: 12pt;"></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">ผลกระทบ (Cause&nbsp;</span><span class="fa fa-arrow-right" style="color: #000000; font-size: 12pt;"></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"> Effect)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt;">ความมีเหตุผล (Reasonableness)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt;">การตั้งคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Why Technique)</span></li>
</ul>
</li>
</ul>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความสำคัญของการระบุความชัดเจนของปัญหา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ข้อกำหนดสำคัญสำหรับการระบุปัญหา</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">กรณีศึกษา</span>: เรียนรู้การระบุปัญหาให้ชัดเจน</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือและเทคนิคของการแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">หลักการระดมสมองอย่างถูกต้อง (Brainstorming)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แผนผังต้นไม้ประเภท Why &ndash; Why Diagram</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เทคนิคการตั้งคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Why Technique)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ตารางประกอบการตั้งคำถาม 5 ครั้ง (5 Why Table)</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt;">ระดับของสาเหตุและมาตรการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า&nbsp;</span></li>
</ul>
</li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ข้อกำหนด 7 ประการของการแก้ปัญหาด้วย Root Cause Analysis</span><br />
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 1</span>: ความชัดเจนกับปัญหา (Specification)<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 2</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 1 (MECE Technique Type I)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 3</span>: การยืนยันความถูกต้องประเภทที่ 2 (MECE Technique Type II)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 4</span>: การค้นหาถึงรากสาเหตุ (Root Cause with 5 Why Technique)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 5</span>: ความสมเหตุสมผลแบบแท้จริงและไม่แท้จริง (Reasonableness Cause)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 6</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุจากสภาพจิตใจ (Emotional Cause)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">ข้อกำหนด 7</span>: การหลีกเลี่ยงสาเหตุนามธรรม (Abstract Cause)</span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity I</span>: การวิเคราะห์ Root Cause Analysis ของผู้เรียน</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การกำหนดมาตรการแก้ปัญหาหลัง Root Cause Analysis</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เครื่องมือประกอบการสร้าง Corrective Action Plan</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="text-decoration: underline;">Activity II</span>: การกำหนดมาตรการแก้ปัญหาหลังการทำ Activity I</span></li>
</ul>
<span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">การพัฒนาทักษะ Root Cause Analysis อย่างยั่งยืน</span>
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิดของการเลือกปัญหาในกระบวนการ</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">แนวคิด &ldquo;Knowledge is not Understanding&rdquo;</span></li>
</ul>
</blockquote>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">เต็มใจให้คำปรึกษา : คุณอ้อย (ฝ่ายดูแล Public Training)</span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><a href="mailto:public@bananatraining.com"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/images.png" alt="" width="30" />&nbsp;public@bananatraining.com</a></span></p>
<p><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/001-technology-3.png" alt="" width="30" />&nbsp;<a href="callto:090-984-2910">090-984-2910</a></span></p>
</div>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;">&nbsp;</span></p>
            [image] => 
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2018-09-25 12:08:00
            [end_date] => 2018-09-25 12:08:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 3900.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2018-09-25 19:18:06
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 48400
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

    [11] => Array
        (
            [article_id] => 57241
            [category_id] => 2996
            [title] => อ.ธเนศ นวะบุศย์
            [category_name] => Trainers & <span class="text-colored">Consultants</span>
            [category_description] => <p style="text-align: justify;">วิทยากรคุณภาพ ประสบการณ์พัฒนาบุคลากรและองค์กรโดยตรง มีความรู้เชิงทฤษฎี เข้าใจบุคลากรเชิงพฤติกรรม ออกแบบหลักสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการขององค์กร</p>
            [category_image] => 
            [description] => Financial Trainer
            [detail] => <div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<p><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 20pt;"><strong>ประวัติอาจารย์ธเนศ นวะบุศย์<br /></strong></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-4 col-md-4 col-lg-4">
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/o_1b9d94b3d1pvenu81hij1pvmqnb.jpg" width="235" height="225" /></strong></span></p>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt;"><strong><a class="btn btn-default btn-primary" href="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/Profile%20%E0%B8%AD.%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C_BananaTraining.pdf" rel="noopener" target="_blank">Download Trainer Profile</a></strong></span></p>
</div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">อ.ธเนศ นวะบุศย์ หรือ โค้ชอู๋ มีความเชี่ยวชาญด้านการเงินและสินเชื่อ<br /></span></div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">A) โดยเน้นกลุ่มผู้ประกอบการ SME เป็นพิเศษ โดยเฉพาะเรื่องเทคนิคในการจัดหาเงินกู้จากสถาบันการเงิน ซึ่งผู้ประกอบการจะสามารถสร้างแผนธุรกิจประกอบการขอสินเชื่อได้</span></div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">B) ทราบเทคนิคในการเตรียมข้อมูลต่าง ๆ ในการนำเสนอกับสถาบันการเงิน ซึ่งจะตรงกับที่สถาบันการเงินต้องการ</span></div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">C) ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดคือจะทำให้ท่านสามารถยื่นขอสินเชื่อได้โดยง่าย สามารถหาแหล่งเงินทุนมาเสริมสภาพคล่องของกิจการที่ถูกต้อง <br /></span></div>
<div class="col-xs-12 col-sm-8 col-md-8 col-lg-8"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;">D) รู้จักการจัดสรรหรือบริหารเงินของตนให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืมภายใต้ศักยภาพของความสามารถในการชำระหนี้ได้อย่างชัดเจน<span style="color: #000000;"><span style="font-size: 12pt; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></span></span></div>
<div class="col-xs-12 col-sm-12 col-md-12 col-lg-12">
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000; font-size: 14pt;">ประวัติการศึกษาและการฝึกอบรม</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Dhurakijpundit University, Master of Business Administration, Major Management and Organization<br /></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">The University of the Thai Chamber of Commerce, Bachelor of Business Administration,<br /></span></span>
<p><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Major Finance Management</span></p>
</li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Trade Finance and Fraud</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Selling and Negotiation Skills</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Corporate Finance</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Account Management and Credit Evaluation</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Loan Workout Workshops</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Statement of Cash flows Workshop</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Skills Assessment Exam by Omega Performance Corporation passed all 15 modules (FAB &amp; CLB)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Moody&rsquo;s Financial Analyst and Moody&rsquo;s Risk Advisor (MFA &amp; MRA)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Mini-Certified Investment &amp; Securities Analyst Program (MINI-CISA)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Successful Presentation Technique</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Training the Trainer</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Banking the SME Sector Through Better Credit Analysis (Certificate from UNI Strategic Pte Ltd Hong Kong)</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ตำแหน่งงานปัจจุบัน</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการเงิน<br /></span><span style="font-size: 12pt;"><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">(Financial</span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; color: #000000;"> Trainer and Consultant</span>)</span></span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li>
<li><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">Vice President, Credit Underwriter</span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span><span style="font-size: 12pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span><span style="color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;"></span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ประสบการณ์ทำงาน</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">An executive with over 25 years of banking experience in the Corporate Banking Department, Kasikorn bank.</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Chandrakasem Rajabhat University</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Suan Dusit Rajabhat University</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">The University of the Thai Chamber of Commerce</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Mahanakorn University of Technology</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">National Institute of Development Administration (NIDA)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Export-Import Bank of Thailand (EXIM Bank)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Minor Food Group</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Bank of Thailand (BOT)</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Kasikorn Bank (KBank)</span></li>
</ul>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #DCDCDC; border-left: none;">
<h4><span style="font-size: 14pt; color: #000000; font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif;">ความเชี่ยวชาญในสายงานฝึกอบรมและที่ปรึกษา</span></h4>
</blockquote>
<blockquote class="" style="background: #f9f9f9; border-left: none;">
<ul>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Management</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Organization and Management</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Principle of Planning</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Human Resources Management and Development</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Business Policy and Strategic Management</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Business Ethics</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Management and Analyze</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">SME Finance Facility</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Risk Management</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Validation and Risk Assessment</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Loan Monitoring</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Risk Management Framework</span></li>
<li><span style="font-family: tahoma, arial, helvetica, sans-serif; font-size: 12pt; color: #000000;">Credit Fundamental for SME</span></li>
</ul>
</blockquote>
<div class="table-responsive">
<table class="table table-responsive table-borderless" style="border: none; width: 100%; height: auto;">
<tbody>
<tr>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C7.JPG" width="250" height="auto" /></td>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C8.JPG" width="250" height="auto" /></td>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C9.JPG" width="250" height="auto" /></td>
</tr>
<tr>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C11.JPG" width="250" height="auto" /></td>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C12.JPG" width="250" height="auto" /></td>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8%20%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B9%8C13.JPG" width="250" height="auto" /></td>
</tr>
<tr>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/1.jpg" width="250" height="auto" /></td>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/2.jpg" width="250" height="auto" /></td>
<td style="width: 33%; height: auto;"><img class="active" src="../../sites/10292/files/u/Trainers/%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%A8/3.jpg" width="250" height="auto" /></td>
</tr>
</tbody>
</table>
</div>
</div>
            [image] => o_1ehmhvuoj1s8g3ruao5ip16o6b.jpg
            [schedule] => 0
            [start_date] => 2017-02-17 14:06:00
            [end_date] => 2017-02-17 14:06:00
            [tags] => 
            [seo] => 0
            [price] => 0.00
            [meta_title] => 
            [meta_keywords] => 
            [meta_description] => 
            [mdate] => 2020-09-08 17:47:24
            [comment_status] => 0
            [viewed] => 4895
            [status] => 1
            [option] => {"file":"","amount":0,"amounttotal":0,"percen":0,"name":"","date":1,"start_date":"1970-01-01 00:00:00","end_date":"1970-01-01 00:00:00"}
        )

)

BANANA COURSES

แสดงหลักสูตร In-House Training ทั้งหมด

  • โพสต์เมื่อ: 16 ตุลาคม 2561

การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์

การบริหารเวลาด้วยความคิดเชิงกลยุทธ์

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กุมภาพันธ์ 2564

การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)

การพัฒนาองค์กรด้วยความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กุมภาพันธ์ 2564

ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process)

ผู้นำกับกฎของการสะสม (The Law of Process)

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 04 กุมภาพันธ์ 2564

ผู้นำกับ Growth Mindset

ผู้นำกับ Growth Mindset

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 16 มิถุนายน 2564

หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ

หลักการออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6 ข้อ

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
  • โพสต์เมื่อ: 02 กุมภาพันธ์ 2562

การคิดเชิงตรรกะและการแก้ปัญหาเชิงระบบ (Logical Thinking and Systematic Problem Solving)

ราคา 4,200 บาท/ท่าน

544

สมัครคอร์ส
  • โพสต์เมื่อ: 31 ธันวาคม 2561

การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer)

ราคา 9,500 บาท/ท่าน

544

สมัครคอร์ส
  • โพสต์เมื่อ: 25 กันยายน 2561

การแก้ปัญหาด้วยเทคนิค 8D Report

ราคา 3,900 บาท/ท่าน

544

สมัครคอร์ส
  • โพสต์เมื่อ: 02 กุมภาพันธ์ 2562

การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วยวงจร PDCA

ราคา 3,900 บาท/ท่าน

544

สมัครคอร์ส
  • โพสต์เมื่อ: 31 ธันวาคม 2561

QC Story และเทคนิคการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

ราคา 3,900 บาท/ท่าน

544

สมัครคอร์ส
  • โพสต์เมื่อ: 25 กันยายน 2561

การวิเคราะห์รากสาเหตุของปัญหา

ราคา 3,900 บาท/ท่าน

544

สมัครคอร์ส
  • โพสต์เมื่อ: 08 กันยายน 2563

อ.ธเนศ นวะบุศย์

Financial Trainer

สมัครคอร์ส

อ่านต่อ
Engine by shopup.com